Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64617
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorรัชนันท์ รามนัฏen_US
dc.contributor.authorประสงค์ อิงสุวรรณen_US
dc.date.accessioned2019-05-07T10:02:16Z-
dc.date.available2019-05-07T10:02:16Z-
dc.date.issued2550en_US
dc.identifier.issn0857-2178en_US
dc.identifier.urihttp://e-faclib.lib.cmu.ac.th/e-faclib/data/eng/2009/4/23/6%C3%D1%AA%B9%D1%B9%B7%EC.pdfen_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64617-
dc.descriptionวารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใช้ประโยชน์ ทั้งในแง่ทฤษฎี การวางแผน การทดลอง การออกแบบ หรือการพัฒนาอุปกรณ์และการจำลองการทำงานของระบบ หรือกระบวนการต่างๆ เป็นต้น โดยเปิดรับบทความวิชาการทางสาขาวิศวกรรมศาสตร์ ตลอดทั้งปีen_US
dc.description.abstractบทความนี้ได้นำเสนอการวิเคราะห์การสั่นสะเทือนของใบเลื่อยวงเดือนและแผ่นบางรูปวงแหวนโดยวิธีไฟไนต์เอลิเมนต์ กับแผ่นบางรูปวงแหวนโดยใช้กฎของนิวตันซึ่งมีเงื่อนไขขอบในแบบยึดแน่นและขอบนอกอิสระ โดยใช้รูปร่างของแผ่นบางรูปวงแหวน ซึ่งมีขนาดขอบนอกของแผ่นบางรูปวงแหวน เท่ากับขนาดวงพิทซ์ของใบเลื่อยวงเดือน เพื่เปรียบเทียบความถี่ธรรมชาติของใบเลื่อยวงเดือนโดยวิธีไฟไนต์เอลิเมนต์ กับความถี่ธรรมชาติของแผ่นบางรูปวงแหวนจากวิธีไฟไนต์เอลิเมนต์ และผลเฉลยแบบแม่นตรงเชิงทฤษฎีโดยกฎของนิวตัน ซึ่งเปลี่ยนขนาดขอบในเป็นขนาดต่าง ๆ สำหรับวิธีวิเคราะห์ไฟไนต์เอลิเมนต์นั้นได้ใช้โปรแกรมสำเร็จรูป FEMAP/NX Nastran และใช้เอลิเมนต์แบบสามเหลี่ยมสามโหนด(ctria3) จากผลการวิเคราะห์พบว่าค่าคลาดเคลื่อนสูงสุดของความถี่ธรรมชาติ 3 โหมดแรกของใบเลื่อยวงเดือนซึ่งวิเคราะห์โดยวิธีไฟไนต์เอลิเมนต์เทียบกับผลของแผ่นบางรูปวงแหวนจากผลเฉลยแบบแม่นตรง และวิธีไฟไนต์เอลิเมนต์มีค่าคลาดเคลื่อน 2.16 เปอร์เซ็นต์ และ 4.65 เปอร์เซ็นต์ตามลำดับ โดยวิเคราะห์ขนาดของขอบใน 76.2 มิลลิเมตร(3 นิ้ว) 101.6 มิลลิเมตร(4นิ้ว) 127มิลลิเมตร (5นิ้ว) 152.4มิลลิเมตร(6นิ้ว) 177.8 มิลลิเมตร(7นิ้ว)en_US
dc.languageThaen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วารสารวิศวกรรมศาสตร์en_US
dc.titleการเปรียบเทียบการสั่นสะเทือนของใบเลื่อยวงเดือนโดยวิธีไฟไนต์ เอลิเมนต์ กับแผ่นบางรูปวงแหวนโดยกฎของนิวตันen_US
dc.title.alternativeThe comparison of vibration of circular saw by finite element method with annular plate by Newton’s lawen_US
dc.typeบทความวารสารen_US
article.title.sourcetitleวารสารวิศวกรรมศาสตร์en_US
article.volume14en_US
article.stream.affiliationsภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.