Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64614
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorจีรพันธ์ จันทร์แดงen_US
dc.contributor.authorระวิวรรณ โอฬารรัตน์มณีen_US
dc.date.accessioned2019-05-07T10:02:15Z-
dc.date.available2019-05-07T10:02:15Z-
dc.date.issued2559en_US
dc.identifier.issn2351-0935en_US
dc.identifier.urihttps://www.tci-thaijo.org/index.php/jed/article/view/73089/63006en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64614-
dc.descriptionวารสารวิชาการ การออกแบบสภาพแวดล้อม เป็นวารสารเพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ใหม่ๆ ในสาขาที่เกี่ยวข้องกับการวิจัยและการออกแบบสถาปัตยกรรมและสภาพแวดล้อม เป็นการเปิดพื้นที่ใหม่ในการเสนอผลงานทางวิชาการให้แก่ คณาจารย์ นักวิชาการ นิสิต นักศึกษาและบุคคลทั่วไป อันจะเป็นการเสริมความเข้มแข็งแก่วงวิชาการและวิชาชีพทางสถาปัตยกรรมต่อไป วารสารวิชาการการออกแบบสิ่งแวดล้อมเริ่มต้นเผยแพร่เมื่อ พ.ศ. 2557 ออกปีละฉบับมาจนถึงปัจจุบันโดยเผยแพร่ผ่านเล่มวารสาร (ISSN : 2392-5477) และหน้าเว็บ (ISSN : 2351-0935) ในรูปแบบ e-Journalen_US
dc.description.abstractบทความนี้มุ่งศึกษาลักษณะของบ้านเรือนและที่ว่างจากภายนอกสู่ภายในเรือนพื้นถิ่นไทลื้อผ่านกรณีศึกษาที่บ้านแวนและบ้านโลงนิม เมืองล่า สิบสองปันนา เพื่อวิเคราะห์ภูมิปัญญาพื้นถิ่นจากภาคสนามวิจัยเกี่ยวกับลักษณะเรือนสู่พื้นที่ว่างในเรือน เป็นฐานความรู้สู่การศึกษาลักษณะเฉพาะของเรือนพื้นถิ่นไทลื้อ โดยใช้วิธีวิจัยเชิงคุณภาพ ด้วยการสำรวจ สังเกตและสัมภาษณ์ในประเด็นของลักษณะบ้านลักษณะเรือนในเชิงรูปทรง ผังและพื้นที่ใช้สอยภายใน และที่ว่างในเรือนในเชิงของลำดับ การเชื่อมต่อ และการปิดล้อมของที่ว่าง ผลการศึกษาพบว่าเรือนไทลื้อมีลักษณะทางสถาปัตยกรรมที่เฉพาะตัวของกลุ่มชาติพันธุ์ไท ลักษณะทางสถาปัตยกรรมนี้มีผลต่อการจัดวางที่ว่างภายในโดยเฉพาะในเชิงของความสัมพันธ์เชิงกายภาพของพื้นที่ที่เน้นลำดับและการเชื่อมต่อตามการใช้งาน วิถีชีวิต ตลอดจนระบบสังคม การปิดล้อมเรือนมีผลให้เกิดพื้นที่ภายในที่มีลักษณะต่างกัน อาทิ ในเชิงทึบ-โปร่ง สว่าง-มืด ส่วนตัว-สาธารณะ ศักดิ์สิทธิ์-สามัญ ทำให้เกิดสุนทรียะที่เฉพาะตัวของแต่ละพื้นที่ที่ประกอบสร้างเป็นคุณค่าความงามในองค์รวมของสถาปัตยกรรม ลักษณะเฉพาะของที่ว่างที่พบนี้มีทั้งที่เป็นไปตามวิถีชีวิตแบบดั้งเดิมของชาวไทลื้อและที่เปลี่ยนแปลงไปที่ตามพลวัตปัจจัยในปัจจุบัน การศึกษาลักษณะของที่ว่างในเรือนพื้นถิ่นไทลื้อนี้ทำให้เกิดความเข้าใจภูมิปัญญาที่อยู่ในวิถีชีวิตประจำวัน และสามารถเสนอแนวทางในการต่อยอดเพื่อการออกแบบที่ว่างภายในในสถาปัตยกรรมร่วมสมัยได้ดียิ่งขึ้นen_US
dc.languageThaen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยเชียงใหม่. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์en_US
dc.titleจากนอกสู่ใน: ลักษณะของเรือนและที่ว่างในเรือนไทลื้อในเมืองล่า สิบสองปันนาen_US
dc.title.alternativeFrom outside to inside: Characteristics of house and interior space in Tai Lue houses in Meng La, Sibsongpannaen_US
dc.typeบทความวารสารen_US
article.title.sourcetitleวารสารวิชาการ การออกแบบสภาพแวดล้อม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
article.volume3en_US
article.stream.affiliationsคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
article.stream.affiliationsคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.