Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64613
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorขวัญชนก สุกโชติรัตน์en_US
dc.contributor.authorธงชัย ฟองสมุทรen_US
dc.date.accessioned2019-05-07T10:02:15Z-
dc.date.available2019-05-07T10:02:15Z-
dc.date.issued2550en_US
dc.identifier.issn0857-2178en_US
dc.identifier.urihttp://e-faclib.lib.cmu.ac.th/e-faclib/data/eng/2009/4/23/2%A2%C7%D1%AD%AA%B9%A1.pdfen_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64613-
dc.descriptionวารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (Engineering Journal Chiang Mai University) เป็นวารสารที่ตีพิมพ์บทความวิชาการในลักษณะบทความวิจัย และบทความปริทัศน์ที่มีคุณภาพสูง ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมถึงสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยมีเนื้อหาที่เป็นองค์ความรู้พื้นฐานจนกระทั่งการนำไปใช้ประโยชน์ ทั้งในแง่ทฤษฎี การวางแผน การทดลอง การออกแบบ หรือการพัฒนาอุปกรณ์และการจำลองการทำงานของระบบ หรือกระบวนการต่างๆ เป็นต้น โดยเปิดรับบทความวิชาการทางสาขาวิศวกรรมศาสตร์ ตลอดทั้งปีen_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการกระจายตัวของความเค้นและการเสียรูปในแผ่นสะสมกระแสของเซลล์เชื้อเพลิงโดยใช้วิธีไฟไนต์เอลิเมนต์ แบบจำลองทางไฟไนต์เอลิเมนต์ถูกสร้างขึ้นโดยการปรับเปลี่ยนค่าตัวแปร 3 ตัว คือ แรงที่กระทำ ความหนาของแผ่นสะสมกระแส และ วัสดุที่ใช้ในการทำแผ่นสะสมกระแส โดยที่แรงที่กระทำคือแรงบิดที่ใช้ในการขันขันน็อตหรือโบลท์จะถูกเปลี่ยนค่าระหว่าง 3.39 N.m (30 lb.in) ถึง 5.20 N.m (46 lb.in) ความหนาของแผ่นสะสมจะถูกเปลี่ยนระหว่าง 4 mm. ถึง 8 mm. และ วัสดุทำแผ่นสะสมกระแสที่ใช้ในการศึกษานี้เป็น กราไฟต์ชนิดFU4369 กราไฟต์ชนิด Ellor+50 และอลูมิเนียม ผลการวิเคราะห์จากวิธีไฟไนต์เอลิเมนต์จะถูกนำไปเปรียบเทียบกับผลที่ได้จากการทดสอบจริง ซึ่งผลจากการเปรียบเทียบดังกล่าวให้ค่าที่สอดคล้องกัน ผลที่ได้จากการวิเคราะห์แสดงให้เห็นว่าความเค้นและการเสียรูปสูงสุดที่เกิดขึ้นกับเซลล์เชื้อเพลิงอยู่ที่รูสำหรับใส่โบลท์เนื่องจากการรับแรงกดจากหัวโบลท์และน็อต ส่วนบริเวณช่องทางเดินก๊าซหรือบริเวณทำปฏิกิริยาของแผ่นสะสมกระแสเกิดความเค้นสูงที่จุดหักมุมของช่องทางเดินก๊าซเนื่องจากบริเวณดังกล่าวมีความเค้นคงค้างสูง นอกจากนี้ผลการวิเคราะห์ยังแสดงให้เห็นว่าค่าความเค้นและการเสียรูปของแผ่นสะสมกระแสจะมีค่ามากขึ้นเมื่อมีการเพิ่มแรงที่ใช้ในการขันน๊อต และเพิ่มความหนาของแผ่นสะสมกระแสสุดท้ายผลการวิเคราะห์ได้แสดงให้เห็นว่ากราไฟต์ชนิด FU4369 มีความเหมาะสมที่สุดในการนำไปใช้ในการทำแผ่นสะสมกระแสen_US
dc.languageThaen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วารสารวิศวกรรมศาสตร์en_US
dc.titleการวิเคราะห์ความเค้นและการเสียรูปในแผ่นโพลาร์ของ เซลล์เชื้อเพลิงโดยใช้ระเบียบวิธีไฟไนต์เอลิเมนต์en_US
dc.title.alternativeAnalysis of Stress and Deformation in a Polar Plate of Fuel Cell Using Finite Element Method.en_US
dc.typeบทความวารสารen_US
article.title.sourcetitleวารสารวิศวกรรมศาสตร์en_US
article.volume14en_US
article.stream.affiliationsภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.