Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64605
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorอัมเรศ เทพมาen_US
dc.contributor.authorเทิดศักดิ์ เตชะกิจขจรen_US
dc.date.accessioned2019-05-07T10:02:15Z-
dc.date.available2019-05-07T10:02:15Z-
dc.date.issued2559en_US
dc.identifier.issn2351-0935en_US
dc.identifier.urihttps://www.tci-thaijo.org/index.php/jed/article/view/73078/63003en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64605-
dc.descriptionวารสารวิชาการ การออกแบบสภาพแวดล้อม เป็นวารสารเพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ใหม่ๆ ในสาขาที่เกี่ยวข้องกับการวิจัยและการออกแบบสถาปัตยกรรมและสภาพแวดล้อม เป็นการเปิดพื้นที่ใหม่ในการเสนอผลงานทางวิชาการให้แก่ คณาจารย์ นักวิชาการ นิสิต นักศึกษาและบุคคลทั่วไป อันจะเป็นการเสริมความเข้มแข็งแก่วงวิชาการและวิชาชีพทางสถาปัตยกรรมต่อไป วารสารวิชาการการออกแบบสิ่งแวดล้อมเริ่มต้นเผยแพร่เมื่อ พ.ศ. 2557 ออกปีละฉบับมาจนถึงปัจจุบันโดยเผยแพร่ผ่านเล่มวารสาร (ISSN : 2392-5477) และหน้าเว็บ (ISSN : 2351-0935) ในรูปแบบ e-Journalen_US
dc.description.abstractการกำหนดขอบเขตพื้นที่เมืองเก่าของประเทศไทยเกิดขึ้นด้วยความตระหนักถึงคุณค่าความสำคัญของมรดกทางวัฒนธรรมและการพัฒนาเชิงพื้นที่ของประเทศ ซึ่งก่อให้เกิดนโยบายด้านการอนุรักษ์และพัฒนาเมืองเก่าที่เป็นจุดเริ่มต้นของการกำหนดขอบเขตพื้นที่เมืองเก่าสำหรับใช้ในการวางแผนการอนุรักษ์และการพัฒนาพื้นที่ในภาคส่วนราชการต่างๆ อย่างเป็นระบบ ดังนั้นวิธีการกำหนดขอบเขตพื้นที่เมืองเก่าจึงเป็นส่วนที่สำคัญของการพัฒนาในขั้นเริ่มต้นที่ควรมีการศึกษาเพื่อเพิ่มความรู้ความเข้าใจอย่างแท้จริง การศึกษาในครั้งนี้จึงได้มุ่งเน้นเพื่อแสดงถึงวิธีการกำหนดขอบเขตทางกายภาพของพื้นที่เมืองเก่าทั้งในด้านองค์ประกอบทางกายภาพที่ใช้ในการกำหนดขอบเขตและการเปรียบเทียบลักษณะขององค์ประกอบที่ใช้เป็นรูปแบบในการกำหนดขอบเขตพื้นที่เมืองเก่าในบริเวณพื้นที่หลักหรือพื้นที่สงวนและพื้นที่อนุรักษ์หรือพื้นที่ต่อเนื่องของกลุ่มพื้นที่เมืองเก่ากลุ่มที่ 1 จำนวน 10 เมืองเก่า โดยใช้ตารางเปรียบเทียบการกำหนดขอบเขตพื้นที่เมืองเก่า ผลการศึกษาพบว่า การกำหนดขอบเขตพื้นที่เมืองเก่าในพื้นที่หลักหรือพื้นที่สงวนเป็๋นไปอย่างมีรูปแบบระเบียบและวิธีการที่ใช้ในการกำหนดพื้นที่อย่างชัดเจนโดยมีสาระสำคัญในด้านความแตกต่างเฉพาะในด้านขนาดของเมือง ในขณะที่พื้นที่ต่อเนื่องมีความหลากหลายแบบและมีความแตกต่างในด้านวิธีการกำหนดขอบเขตของพื้นที่ ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ไม่ได้มีแบบแผนที่นำมาใช้เป็นวิธีการกำหนดตั้งแต่แรก แต่เกิดจากการกำหนดขอบเขตพื้นที่ตามสภาพทางกายภาพของเมืองเก่าในพื้นที่จริงen_US
dc.languageThaen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยเชียงใหม่. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์en_US
dc.titleรูปแบบการกำหนดขอบเขตพื้นที่เมืองเก่าในประเทศไทยen_US
dc.title.alternativeSpecification feature of Ancient City Boundary in Thailanden_US
dc.typeบทความวารสารen_US
article.title.sourcetitleวารสารวิชาการ การออกแบบสภาพแวดล้อม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
article.volume3en_US
article.stream.affiliationsคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
article.stream.affiliationsคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.