Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64603
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorปัตย์ ศรีอรุณen_US
dc.contributor.authorมานิตา ชีวเกรียงไกรen_US
dc.date.accessioned2019-05-07T10:02:15Z-
dc.date.available2019-05-07T10:02:15Z-
dc.date.issued2559en_US
dc.identifier.issn2351-0935en_US
dc.identifier.urihttps://www.tci-thaijo.org/index.php/jed/article/view/73101/63008en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64603-
dc.descriptionวารสารวิชาการ การออกแบบสภาพแวดล้อม เป็นวารสารเพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ใหม่ๆ ในสาขาที่เกี่ยวข้องกับการวิจัยและการออกแบบสถาปัตยกรรมและสภาพแวดล้อม เป็นการเปิดพื้นที่ใหม่ในการเสนอผลงานทางวิชาการให้แก่ คณาจารย์ นักวิชาการ นิสิต นักศึกษาและบุคคลทั่วไป อันจะเป็นการเสริมความเข้มแข็งแก่วงวิชาการและวิชาชีพทางสถาปัตยกรรมต่อไป วารสารวิชาการการออกแบบสิ่งแวดล้อมเริ่มต้นเผยแพร่เมื่อ พ.ศ. 2557 ออกปีละฉบับมาจนถึงปัจจุบันโดยเผยแพร่ผ่านเล่มวารสาร (ISSN : 2392-5477) และหน้าเว็บ (ISSN : 2351-0935) ในรูปแบบ e-Journalen_US
dc.description.abstractการปรับปรุงสุสานให้กลายเป็นพื้นที่ชุมชนนั้นได้รับความนิยมมาอย่างยาวนานในต่างประเทศ ในปัจจุบันความพยายามที่จะพัฒนาฌาปนสถานให้กลายเป็นพื้นที่ชุมชนในประเทศไทยนั้นมีจำนวนมากขึ้นอย่างเห็นได้ชัดเนื่องจากการสนับสนุนของรัฐ กรณีศึกษาในประเทศไทยกรณีหนึ่งคือการปรับเปลี่ยนป่าช้าวัดดอนเป็นพื้นที่ชุมชนที่ประสบความสำเร็จในการทำพื้นที่ฌาปนสถานในเมืองให้กลายเป็นพื้นที่ชุมชนเชียงใหม่เป็นอีกเมืองหนึ่งที่เห็นได้อย่างชัดเจนถึงความพยายามพัฒนาฌาปนสถานหลายแห่งให้กลายเป็นพื้นที่ชุมชน ฌาปนสถานช่างเคี่ยนเป็นพื้นที่หนึ่งซึ่งได้รับการพัฒนาจนได้รับความนิยมในการเข้าไปใช้งานจากคนในชุมชน ในขณะที่หลายฌาปนสถานไม่ได้รับความนิยมมากนัก เช่น ฌาปนสถานหายยา ที่แทบไม่มีผู้คนเข้าไปใช้งาน ทั้งๆ ที่ตั้งอยู่ในชุมชนเมืองเช่นเดียวกัน นมาซึ่งคำถามที่ว่าเหตุใดผู้คนจึงเข้าไปใช้ฌาปนสถานแห่งหนึ่งในการเป็นพื้นที่ชุมชนมากกว่าอีกแห่งหนึ่ง และทำให้เกิดสมมติฐานว่า สาเหตุหนึ่งของการที่ผู้คนไม่เข้าไปใช้งานในฌาปนสถานนั้น เนื่องมาจากฌาปนสถานที่ถูกพัฒนาให้กลายเป็นพื้นที่ชุมชนนั้นๆ ไม่มีลักษณะที่ส่งเสริมให้เกิดกิจกรรมเลือกที่จะทำและกิจกรรมทางสังคม ซึ่งลักษณะที่ไม่ส่งเสริมดังกล่าวเกิดขึ้นจากปัญหาการขาดองค์ความรู้ในการพัฒนาฌาปนสถานให้กลายเป็นพื้นชุมชนและขาดการทำเอกสารคู่มือแนวทางการพัฒนาฌาปนสถานที่ชัดเจนสำหรับผู้ที่เกี่ยวข้องในการพัฒนาปรับปรุงฌาปนสถานโดยในบทความนี้ ผู้เขียนเสนอว่าองค์ความรู้ในการพัฒนาฌาปนสถานเพื่อเป็นพื้นที่ชุมชนนั้นควรประกอบขึ้นจากการผสานองค์ความรู้สามส่วนคือ 1) มาตรฐานฌาปนสถาน 2) ลักษณะของพื้นที่ชุมชนที่ส่งเสริมให้เกิดกิจกรรมทางสังคม และ 3) ลักษณะของชุมชนen_US
dc.languageThaen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยเชียงใหม่. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์en_US
dc.titleการผสานองค์ความรู้ในการพัฒนาฌาปนสถานสู่การเป็นพื้นที่ชุมชนen_US
dc.title.alternativeKnowledge integration for cemetery and crematory development as a community spaceen_US
dc.typeบทความวารสารen_US
article.title.sourcetitleวารสารวิชาการ การออกแบบสภาพแวดล้อม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
article.volume3en_US
article.stream.affiliationsสาขาสถาปัตยกรรม คณะศิลปกรรมและสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนาen_US
article.stream.affiliationsสาขาสถาปัตยกรรม คณะศิลปกรรมและสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนาen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.