Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64601
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | พนิต ภู่จินดา | en_US |
dc.contributor.author | ยศพล บุญสม | en_US |
dc.date.accessioned | 2019-05-07T10:02:15Z | - |
dc.date.available | 2019-05-07T10:02:15Z | - |
dc.date.issued | 2016 | en_US |
dc.identifier.issn | 2351-0935 | en_US |
dc.identifier.uri | https://www.tci-thaijo.org/index.php/jed/article/view/68472/63011 | en_US |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64601 | - |
dc.description | วารสารวิชาการ การออกแบบสภาพแวดล้อม เป็นวารสาร เพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ใหม่ๆในสาขาที่เกี่ยวข้องกับการวิจัยและการออกแบบสถาปัตยกรรมและสภาพแวดล้อม เป็นการเปิดพื้นที่ใหม่ในการเสนอผลงานทางวิชาการให้แก่ ผู้สนใจ นักวิชาการ นิสิต นักศึกษาและบุคคลทั่วไป อันจะเป็นการเสริมความเข้มแข็งแก่วงวิชาการและวิชาชีพทางสถาปัตยกรรมต่อไป วารสารวิชาการการออกแบบสิ่งแวดล้อมเริ่มต้นเผยแพร่เมื่อ พ.ศ.2557 ออกปีละฉบับมาจนถึงปัจจุบัน | en_US |
dc.description.abstract | บทความนี้เป็นการนำเสนอแนวคิดการพัฒนาเมืองต้นแบบ ซึ่งเป็นเพียงส่วนหนึ่งของการวิจัย “คู่มือแนวทางสู่การออกแบบเมือง” ซึ่งถูกจัดทำขึ้นเพื่อจัดประเภทเมืองตามบทบาท องค์ประกอบ และลักษณะของเมือง ผ่านกระบวนการศึกษาและคัดเลือกหลักทฤษฎีการพัฒนาเมืองที่เหมาะสมและประสบความสำเร็จของต่างประเทศ อันประกอบด้วยการศึกษาข้อมูล เกณฑ์องค์ประกอบ ตัวชี้วัดด้านต่างๆ ปัจจัยหลักและปัจจัยเสริมที่สามารถประยุกต์ใช้กับการวางผังเมืองในพื้นที่ที่เหมาะสมตามลักษณะของเมืองประเภทนั้นๆ และยังคงสอดคล้องกับองค์ประกอบ และบริบทของสังคมไทย เพื่อนำไปสู่การประยุกต์ใช้ได้จริงในอนาคต โดยมี ขั้นตอนการวิจัยที่ผ่านการวิเคราะห์ในการดำเนินการศึกษา เป็นกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ที่สามารถ ตรวจสอบย้อนกลับได้ สามารถนำมาสู่การนำเสนอแนวทางการพัฒนาเมืองที่มีลักษณะแตกต่างกันตามศักยภาพและบทบาทของเมือง 5 ประเภท ได้แก่ เมืองท่องเที่ยวด้านนันทนาการและบันเทิง เมืองอุตสาหกรรม เมืองศูนย์ราชการ เมืองการศึกษา และเมืองศูนย์กลางคมนาคมขนส่งทางน้ำและโลจิสติกส์ โดยการพัฒนาเมืองทั้ง 5 ประเภทนี้จะเป็นกลไกที่จะขับเคลื่อนและรองรับการพัฒนาของประเทศในอนาคตอย่างเหมาะสมและยั่งยืน เนื่องจากการวางและการออกแบบทางผังเมืองต้องมีหลักเกณฑ์ แนวคิดที่สอดคล้องเหมาะสมกับศักยภาพและบทบาทของเมืองหรือพื้นที่นั้นๆ และช่วยแก้ไขปัญหาพื้นที่อย่างเป็นรูปธรรม | en_US |
dc.language | Tha | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ | en_US |
dc.title | แนวคิดการพัฒนาเมืองต้นแบบ | en_US |
dc.title.alternative | Urban Design Guideline for Specific Purposed Towns | en_US |
dc.type | บทความวารสาร | en_US |
article.title.sourcetitle | วารสารวิชาการ การออกแบบสภาพแวดล้อม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
article.volume | 3 | en_US |
article.stream.affiliations | ภาควชิาการวางแผนภาคและเมือง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
Appears in Collections: | CMUL: Journal Articles |
Files in This Item:
There are no files associated with this item.
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.