Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64584
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorอุฬาร ปัญจะเรืองen_US
dc.contributor.authorระวิวรรณ โอฬารรัตน์มณen_US
dc.date.accessioned2019-05-07T10:02:14Z-
dc.date.available2019-05-07T10:02:14Z-
dc.date.issued2015en_US
dc.identifier.issn2351-0935en_US
dc.identifier.urihttps://www.tci-thaijo.org/index.php/jed/article/view/68339/55648en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64584-
dc.descriptionวารสารวิชาการ การออกแบบสภาพแวดล้อม เป็นวารสาร เพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ใหม่ๆในสาขาที่เกี่ยวข้องกับการวิจัยและการออกแบบสถาปัตยกรรมและสภาพแวดล้อม เป็นการเปิดพื้นที่ใหม่ในการเสนอผลงานทางวิชาการให้แก่ ผู้สนใจ นักวิชาการ นิสิต นักศึกษาและบุคคลทั่วไป อันจะเป็นการเสริมความเข้มแข็งแก่วงวิชาการและวิชาชีพทางสถาปัตยกรรมต่อไป วารสารวิชาการการออกแบบสิ่งแวดล้อมเริ่มต้นเผยแพร่เมื่อ พ.ศ.2557 ออกปีละฉบับมาจนถึงปัจจุบันen_US
dc.description.abstractบทความนี้ศึกษาพลวัตทางสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นของกะเหรี่ยงปกาเกอญอในพื้นที่พักพิงชั่วคราวที่สะท้อนถึงการเปลี่ยนแปลงพลวัตทางสังคม วัฒนธรรม และการเมืองของกลุ่มชาติพันธุ์ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ วัตถุประสงค์งานวิจัยเพื่อค้นหารูปแบบเรือนและการก่อรูปของเรือนพื้นถิ่นผู้ลี้ภัยกะเหรี่ยงปกาเกอญอ ในพื้นที่พักพิงชั่วคราวแม่หละ อำเภอท่าสองยาง จังหวัดตาก ในพื้นที่ C1/BB และ C1/A เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ ใช้วิธีสังเกตอย่างมีส่วนร่วมในการเก็บข้อมูล โดยการสำรวจเรือน ร่างภาพ จดบันทึก สัมภาษณ์เจ้าของเรือน หรือผู้นำชุมชน และนักวิชาการในพื้นที่พักพิงชั่วคราว ผลวิจัยพบว่ารูปแบบเรือนแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ 1) กลุ่มเรือนพักพิงแบบดั้งเดิมประกอบด้วย เรือนพักพิงแบบดั้งเดิมของครอบครัวเล็ก และ เรือนพักพิงแบบ ดั้งเดิมของครอบครัวใหญ่ 2) กลุ่มเรือนที่มีการปรับเปลี่ยน ประกอบด้วย เรือนพักพิงที่มีปรับเปลี่ยนในพื้นที่ จำกัด เรือนพักพิงที่มีการปรับเปลี่ยนมีพื้นที่ทำกิน และเรือนพักพิงที่มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบพิเศษ การก่อรูปของสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นในพื้นที่พักพิงชั่วคราวเกิดขึ้นภายใต้ 2 ปัจจัยหลักได้แก่ ปัจจัยทางสังคม และ ปัจจัยทางกายภาพ ผู้วิจัยยังพบรูปแบบเรือนที่ค้นพบมีความเชื่อมโยงกับปัจจัยการก่อรูปของสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นในพื้นที่พักพิงชั่วคราว งานวิจัยนี้สะท้อนให้เห็นพลวัตสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นที่มีความหลากหลาย ทำให้ ตระหนักถึงความสำคัญของภูมิปัญญาชาติพันธุ์การอยู่ร่วมกับสภาพแวดล้อม การเมือง สังคมวัฒนธรรมที่ เปลี่ยนไปในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้en_US
dc.languageThaen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยเชียงใหม่. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์en_US
dc.titleรูปแบบและการก่อรูปของสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นกะเหรี่ยงปกาเกอญอในพื้นที่พักพิงชั่วคราวบ้านแม่หละ อำเภอท่าสองยาง จังหวัดตากen_US
dc.title.alternativePatterns and Formation of Vernacular Architecture of Karen Refugees in Maela Refugee Camp, Tha Song Yang District, Tak Provinceen_US
dc.typeบทความวารสารen_US
article.title.sourcetitleวารสารวิชาการ การออกแบบสภาพแวดล้อม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
article.volume2en_US
article.stream.affiliationsสถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.