Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64571
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorธนานิติ ธิชาญen_US
dc.contributor.authorสุนทร คำยองen_US
dc.contributor.authorนิวัติ อนงค์รักษ์en_US
dc.contributor.authorพันธุ์ลพ หัตถโกศen_US
dc.date.accessioned2019-05-07T10:02:14Z-
dc.date.available2019-05-07T10:02:14Z-
dc.date.issued2561en_US
dc.identifier.issn0857-0842en_US
dc.identifier.urihttp://journal.agri.cmu.ac.th/pdf/J00140_C01108.pdfen_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64571-
dc.descriptionวารสารเกษตร เป็นวารสารวิชาการของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยวารสารจะออกราย 4 เดือน (มกราคม พฤษภาคม และกันยายน) ซึ่งจะพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิชาการสาขา เกษตรศาสตร์ อุตสาหกรรมเกษตร สัตวแพทย์ และชีววิทยา ทั้งจากภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย และปัจจุบันวารสารเกษตรอยู่ในฐานข้อมูลระดับชาติ ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (TCI)en_US
dc.description.abstractสมบัติของดินเหมืองแร่ลิกไนต์บ้านปูศึกษา 3 พื้นที่คือ ป่าธรรมชาติ ขอบบ่อเหมืองและป่าปลูก โดยขุดหลุมดิน 7 หลุม เก็บตัวอย่างดินที่ความลึก 0-5, 5-10, 20-40, 40-60, 60-80 และ 80-100 เซนติเมตร และวิเคราะห์สมบัติทางกายภาพเคมีของดินในห้องปฏิบัติการ พบว่า สมบัติทางกายภาพผันแปรมากตามพื้นที่และความลึก ไม่เหมาะสมต่อการเติบโตของพันธุ์ไม้ ดินเป็นหินผุ กรวดหินหรือดินเหนียว มีความหนาแน่นปานกลาง ค่อนข้างต่ำและต่ำ ซึ่งเกิดจากชนิดวัสดุและกรวดหิน เป็นดินร่วนปนทรายหรือดินทรายร่วนหรือดินร่วนเหนียว ดินป่าธรรมชาติมีปฏิกิริยาเป็นกลาง ดินขอบบ่อเหมืองด้านล่างที่ยังไม่ปลูกและที่ปลูกป่าแล้วเป็นกรดรุนแรงมาก แต่ขอบบ่อเหมืองด้านบนที่ปลูกป่ามีค่าเป็นกลาง ดินพื้นที่ป่าปลูก 1 และ 2 มีปฏิกิริยาผันแปรตามชั้นดิน เป็นกลาง กรดเล็กน้อยและกรดจัดมาก แต่ดินพื้นที่ป่าปลูก 3 เป็นกรดรุนแรงมากที่สุดเกือบตลอดชั้นดิน อินทรียวัตถุ คาร์บอนและไนโตรเจนมีค่าต่ำในดินทั้งพื้นที่เหมืองแร่และป่าธรรมชาติ แต่ชั้นดินล่างบางพื้นที่กลับมีค่าสูงกว่าดินบนเช่นเดียวกับความผันแปรของฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ โพแทสเซียม แคลเซียมและแมกนีเซียมที่สามารถสกัดได้ ซึ่งเกิดจากการสลับชั้นดิน โดยนำดินล่างและหินผุถมสลับกับดินบนen_US
dc.languageThaen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการen_US
dc.titleสมบัติทางกายภาพเคมีของดินในพื้นที่เหมืองแร่และป่าปลูกเพื่อการฟื้นฟูที่ดินเหมืองแร่ลิกไนต์บ้านปู อำเภอลี้ จังหวัดลำพูนen_US
dc.title.alternativeSoil Physicochemical Properties in Mining Areas and Plantation Forest for Land Reclamation of Ban Pu Lignite Mine, Li District, Lamphun Provinceen_US
dc.typeบทความวารสารen_US
article.title.sourcetitleวารสารเกษตรen_US
article.volume34en_US
article.stream.affiliationsภาควิชาพืชศาสตร์และปฐพีศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลยัเชียงใหม่ จ.เชียงใหม่ 50200en_US
article.stream.affiliationsภาควิชาเกษตรที่สูงและทรัพยากรธรรมชาติ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จ.เชียงใหม่ 50200en_US
article.stream.affiliationsภาควิชาวิศวกรรมเหมืองแร่และปิโตรเลียม คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยัเชียงใหม่ จ.เชียงใหม่ 50200en_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.