Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64568
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorวุฒิ ศรีวิชัยen_US
dc.contributor.authorดวงสมร ตุลาพิทักษ์en_US
dc.contributor.authorพฤกษา หล้าวงษาen_US
dc.contributor.authorพัชรี แสนจันทร์en_US
dc.date.accessioned2019-05-07T10:02:13Z-
dc.date.available2019-05-07T10:02:13Z-
dc.date.issued2561en_US
dc.identifier.issn0857-0842en_US
dc.identifier.urihttp://journal.agri.cmu.ac.th/pdf/J00140_C01106.pdfen_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64568-
dc.descriptionวารสารเกษตร เป็นวารสารวิชาการของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยวารสารจะออกราย 4 เดือน (มกราคม พฤษภาคม และกันยายน) ซึ่งจะพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิชาการสาขา เกษตรศาสตร์ อุตสาหกรรมเกษตร สัตวแพทย์ และชีววิทยา ทั้งจากภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย และปัจจุบันวารสารเกษตรอยู่ในฐานข้อมูลระดับชาติ ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (TCI)en_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาชนิดของอินทรีย์คาร์บอนในดินและขนาดเม็ดดินที่ก่อให้เกิดก๊าซมีเทน (CH4) และคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) ในดินนา โดยทำการศึกษากับดินร่วนและดินร่วนปนทรายที่ถูกแยกออกเป็น 6 กลุ่มขนาดเม็ดดิน <4 มม. (bulk soil), 4-2 มม. (large macroaggregate, LMa), 2-1 มม. (medium macroaggregate, MMa), 1-0.25 มม. (small macroaggregate, SMa), 0.25-0.053 มม. (microaggregate, Mi) และ <0.053 มม. (fine microaggregate, FMi) ซึ่งแต่ละกลุ่มขนาดนั้นมีทั้งไม่ถูกบด (uncrushed) และที่ถูกบด (crushed) วางแผนการทดลองแบบ Factorial in Completely Randomized Design (CRD) แต่ละเนื้อดินมี12 ตำรับทดลอง ทำ 3 ซ้ำ วิเคราะห์ปริมาณอินทรีย์คาร์บอนในดิน (SOC) อินทรีย์คาร์บอนที่ย่อยสลายง่าย (LOC) และสัดส่วนคาร์บอนที่ย่อยสลายยาก (non-LOC:SOC) แล้วทำการบ่มดินในสภาพไร้ออกซิเจน นาน 14 วัน และวิเคราะห์ปริมาณก๊าซ CH4 และ CO2 ผลการทดลองพบว่าสาร LOC เป็นแหล่งของอินทรีย์คาร์บอนที่เหมาะสมต่อการผลิตก๊าซ CH4 และ CO2 มากกว่าสาร non-LOC ซึ่งเป็นสารอินทรีย์ที่ย่อยสลายยาก ค่าเฉลี่ยปริมาณ LOC ของดินร่วนและดินร่วนปนทรายมีค่า 0.78 มก./กก. และ 0.70 มก./กก. และมีค่าเฉลี่ยสัดส่วน non-LOC:SOC 0.94 และ 0.90 ตามลำดับ โดยที่ดินร่วนมีปริมาณ LOC และสัดส่วน non-LOC:SOC มากกว่าของดินร่วนปนทราย ตำแหน่งของการเกิดก๊าซ CH4 ในดินร่วนเกิดมากที่เม็ดดินขนาด 2-1 มม. ตามด้วยเม็ดดินขนาด 1-0.25 มม. และ 4-2 มม. ส่วนในดินร่วนปนทรายก๊าซ CH4 เกิดมากที่เม็ดดินขนาด 2-1 มม. ในขณะที่การเกิดก๊าซ CO2 ของดินร่วนเกิดมากที่เม็ดดินขนาด 2-1 มม. ส่วนของดินร่วนปนทรายก๊าซ CO2 เกิดมากที่เม็ดดินขนาด 2-1 มม. ตามด้วยเม็ดดินขนาด <0.053 มม. และ 1-0.25 มม.en_US
dc.languageThaen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการen_US
dc.titleอินทรีย์คาร์บอนของเม็ดดินที่ก่อให้เกิดก๊าซมีเทนและคาร์บอนไดออกไซด์ในดินนาen_US
dc.title.alternativeOrganic Carbon in Soil Aggregates Induces Methane and Carbon Dioxide Formation in Paddy Soilsen_US
dc.typeบทความวารสารen_US
article.title.sourcetitleวารสารเกษตรen_US
article.volume34en_US
article.stream.affiliationsสาขาวิชาปฐพีศาสตร์และสิ่งแวดล้อม คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลยัขอนแก่น จ. ขอนแก่น 40002en_US
article.stream.affiliationsศูนย์ศึกษาค้นคว้าและพัฒนาเกษตรกรรมภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มหาวิทยาลยัขอนแก่น จ. ขอนแก่น 40002en_US
article.stream.affiliationsกล่มุวิจัยอินทรียวัตถขุองดิน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลยัขอนแก่น จ. ขอนแก่น 40002en_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.