Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64556
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | อนุรักษ์ เขียวขจรเขต | en_US |
dc.date.accessioned | 2019-05-07T10:02:13Z | - |
dc.date.available | 2019-05-07T10:02:13Z | - |
dc.date.issued | 2561 | en_US |
dc.identifier.issn | 0857-0842 | en_US |
dc.identifier.uri | http://journal.agri.cmu.ac.th/pdf/J00139_C01096.pdf | en_US |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64556 | - |
dc.description | วารสารเกษตร เป็นวารสารวิชาการของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยวารสารจะออกราย 4 เดือน (มกราคม พฤษภาคม และกันยายน) ซึ่งจะพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิชาการสาขา เกษตรศาสตร์ อุตสาหกรรมเกษตร สัตวแพทย์ และชีววิทยา ทั้งจากภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย และปัจจุบันวารสารเกษตรอยู่ในฐานข้อมูลระดับชาติ ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (TCI) | en_US |
dc.description.abstract | เศษปลาหมัก (fish silage, FS) จากกระบวนการแปรรูปสัตว์น้ำเป็นเศษเหลือทิ้งที่ยังคงสารอาหารที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของสัตว์น้ำ จึงเป็นที่มาของศึกษานี้โดยกำหนดให้อาหารทดลองผสมด้วยเศษปลาหมักที่ระดับต่างๆ จำนวน 5 ระดับประกอบด้วย สูตรควบคุม (FS0) ไม่ผสมเศษปลาหมัก และมีแหล่งโปรตีนที่มาจากปลาป่นเป็นหลัก สูตรที่ 2-5 (FS25-FS100) ผสมเศษปลาหมักที่ระดับ 25, 50, 75 และ 100 เปอร์เซ็นต์ของระดับโปรตีนในปลาป่นในสูตรควบคุมตามลำดับ โดยกำหนดให้มีโปรตีน และไขมันในระดับใกล้เคียงกัน จากการทดลองพบว่าปลาที่ได้รับอาหารสูตร FS25 และ FS50 มีน้ำหนักที่เพิ่มขึ้น น้ำหนักที่เพิ่มขึ้นต่อวัน อัตราการเจริญเติบโตจำเพาะสูง การเปลี่ยนอาหารเป็นน้ำหนักตัว ประสิทธิภาพการย่อยวัตถุแห้งและโปรตีน ประสิทธิภาพการใช้โปรตีน การสะสมฟอสฟอรัส และการขับไนโตรเจนและฟอสฟอรัสไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P>0.05) กับสูตรควบคุม (FS0) ในขณะที่ปลานิลแดงที่ได้รับอาหาร FS75 และ 100 มีผลเชิงลบต่อการเจริญเติบโต และเมื่อประสิทธิภาพการย่อยโปรตีนต่าจะส่งผลต่อการเจริญเติบโต การนำสารอาหารไปประโยชน์ส่งผลต่อการขับไนโตรเจน และฟอสฟอรัสสูงอีกด้วย ด้านต้นทุนค่าอาหารพบว่าเมื่อใช้เศษปลาหมักที่ 25 และ 50 เปอร์เซ็นต์มีผลทำให้อาหารมีต้นทุนที่ต่ำกว่ากลุ่มควบคุม การทดลองในครั้งนี้แสดงให้เห็นว่าเศษปลาหมักเป็นวัตถุดิบที่ศักยภาพต่อการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ และสามารถทดแทนโปรตีนจากปลาป่นได้มากถึง 50 เปอร์เซ็นต์ โดยไม่มีผลกระทบต่อการเจริญเติบโตและสามารถลดการขับสารอาหารลงสู่แหล่งน้ำได้ | en_US |
dc.language | Tha | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ | en_US |
dc.title | ผลของเศษปลาหมักต่อการเจริญเติบโต ประสิทธิภาพการใช้อาหารและสารอาหารของปลานิลแดง (Oreochromis niloticus x O. mossambicus) | en_US |
dc.title.alternative | Effects of Fish Silage on Growth Performance, Feed and Nutrient Utilization of Red Tilapia (Oreochromis niloticus x O. mossambicus) | en_US |
dc.type | บทความวารสาร | en_US |
article.title.sourcetitle | วารสารเกษตร | en_US |
article.volume | 34 | en_US |
article.stream.affiliations | ภาควิชาวิทยาศาสตร์การเกษตร คณะเกษตรศาสตร์ ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยนเรศวร อ.เมือง จ.พิษณุโลก 65000 | en_US |
article.stream.affiliations | ศูนย์เทคโนโลยีชีวภาพทางการเกษตร คณะเกษตรศาสตร์ ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยนเรศวร อ.เมือง จ.พิษณุโลก 65000 | en_US |
Appears in Collections: | CMUL: Journal Articles |
Files in This Item:
There are no files associated with this item.
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.