Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64539
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorนุดี เจริญกิจen_US
dc.contributor.authorกรวรรณ ศรีงามen_US
dc.contributor.authorพิทยา สรวมศิริen_US
dc.contributor.authorดรุณี นาพรหมen_US
dc.date.accessioned2019-05-07T10:02:12Z-
dc.date.available2019-05-07T10:02:12Z-
dc.date.issued2561en_US
dc.identifier.issn0857-0842en_US
dc.identifier.urihttp://journal.agri.cmu.ac.th/pdf/J00139_C01083.pdfen_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64539-
dc.descriptionวารสารเกษตร เป็นวารสารวิชาการของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยวารสารจะออกราย 4 เดือน (มกราคม พฤษภาคม และกันยายน) ซึ่งจะพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิชาการสาขา เกษตรศาสตร์ อุตสาหกรรมเกษตร สัตวแพทย์ และชีววิทยา ทั้งจากภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย และปัจจุบันวารสารเกษตรอยู่ในฐานข้อมูลระดับชาติ ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (TCI)en_US
dc.description.abstractดำเนินการวิจัยทดสอบการใช้สารยับยั้งการสร้างจิบเบอเรลลิน 2 ชนิด คือ พาโคลบิวทราโซล และ เมพิควอทคลอไรด์ เพื่อช่วยให้ต้นลิ้นจี่ออกดอกแม้เมื่อสภาพความหนาวเย็นของอากาศไม่เพียงพอ โดยศึกษากับต้นลิ้นจี่พันธุ์ฮง-ฮวย ปลูกบนพื้นที่สูง 1,200 เมตรเหนือระดับน้ำทะเล อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ ดำเนินการทดลองระหว่างเดือนมีนาคม ถึงเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2556 วางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ (CRD) มี 5 กรรมวิธี กรรมวิธีละ 5 ซ้ำ โดยให้ 1 ต้น เป็น 1 ซ้ำ ดังนี้ 1) ควบคุม (control) 2) ควั่นกิ่งร่วมกับพ่นทางใบด้วยปุ๋ย 0-52-34 ความเข้มข้น 1 เปอร์เซ็นต์ ผสม เอทิฟอน 400 มิลลิกรัมต่อลิตร 3) ควั่นกิ่งร่วมกับพ่นทางใบด้วยปุ๋ย 0-52-34 ผสมเอทิฟอน และพาโคลบิวทราโซล 3,000 มิลลิกรัมต่อลิตร 4) ควั่นกิ่งร่วมกับพ่นทางใบด้วยปุ๋ย 0-52-34 ผสมเอทิฟอน และเมพิควอทคลอไรด์ 2,500 มิลลิกรัมต่อลิตร และ 5) ควั่นกิ่งร่วมกับพ่นทางใบด้วยปุ๋ย 0-52-34 ผสมเอทิฟอน พาโคลบิวทราโซล และเมพิควอทคลอไรด์ พบว่า กรรมวิธีที่ 5 (ควั่นกิ่ง ร่วมกับพ่นทางใบด้วยปุ๋ย 0-52-34 ผสมเอทิฟอน พาโคลบิวทราโซล และเมพิควอทคลอไรด์) ให้ผลดีที่สุดในการส่งเสริมการออกดอกของลิ้นจี่ได้ในเดือนกรกฎาคมแม้อุณหภูมิอากาศจะไม่หนาวเย็น โดยกรรมวิธีดังกล่าวสามารถชะลอการผลิยอดใหม่ ลดการสังเคราะห์และสะสมออกซิน ในขณะที่ส่งเสริมการสร้างและเคลื่อนย้ายไซโตไคนินรูป iP/iPA และรูป Z/Zr ที่ใบและตายอดให้เพิ่มสูงขึ้น น่าจะมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดในการส่งเสริมการเปลี่ยนตายอดจากตาใบไปตาดอกและพัฒนาไปเป็นช่อดอกที่สมบูรณ์ได้en_US
dc.languageThaen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการen_US
dc.titleผลของการควั่นกิ่ง ปุ๋ยทางใบ และสารยับยั้งการสังเคราะห์จิบเบอเรลลินต่อการเปลี่ยนแปลงฮอร์โมนพืชที่สัมพันธ์กับการออกดอกของลิ้นจี่พันธุ์ฮงฮวยบนพื้นที่สูงen_US
dc.title.alternativeEffects of Girdling, Foliar Fertilizer and Gibberellin Biosynthesis Inhibitors on Changes of Plant Hormones Relating to Flowering of Lychee cv. Hong Huay on Highlanden_US
dc.typeบทความวารสารen_US
article.title.sourcetitleวารสารเกษตรen_US
article.volume34en_US
article.stream.affiliationsภาควิชาพืชศาสตร์และปฐพีศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จ.เชียงใหม่ 50200en_US
article.stream.affiliationsศูนย์ความเป็นเลิศด้านเทคโนโลยีชีวภาพเกษตร สานักพัฒนาบัณฑิตศึกษาและวิจัยด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี สานักคณะกรรมการการอุดมศึกษา, กรุงเทพฯ 10900en_US
article.stream.affiliationsภาควิชาสัตวศาสตร์และสัตว์น้า คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จ.เชียงใหม่ 50200en_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.