Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64498
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorธัญญารัตน์ สมสู่en_US
dc.contributor.authorสุธา วัฒนสิทธิ์en_US
dc.contributor.authorสุปรียา ยืนยงสวัสดิ์en_US
dc.contributor.authorศิริวัฒน์ วาสิกศิริen_US
dc.date.accessioned2019-05-07T10:02:10Z-
dc.date.available2019-05-07T10:02:10Z-
dc.date.issued2560en_US
dc.identifier.issn0857-0842en_US
dc.identifier.urihttp://journal.agri.cmu.ac.th/pdf/J00135_C01036.pdfen_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64498-
dc.descriptionวารสารเกษตร เป็นวารสารวิชาการของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยวารสารจะออกราย 4 เดือน (มกราคม พฤษภาคม และกันยายน) ซึ่งจะพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิชาการสาขา เกษตรศาสตร์ อุตสาหกรรมเกษตร สัตวแพทย์ และชีววิทยา ทั้งจากภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย และปัจจุบันวารสารเกษตรอยู่ในฐานข้อมูลระดับชาติ ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (TCI)en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบองค์ประกอบทางโภชนาการและปริมาณสารอัลลิซินของกระเทียมผงในสายพันธุ์ศรีสะเกษ สายพันธุ์เชียงใหม่ และสายพันธุ์จีน และการศึกษาฤทธิ์ของแอลลิซินในการยับยั้งการเจริญเติบโตของ Salmonella Typhimurium เพื่อเป็นข้อมูลทางห้องปฏิบัติการเบื้องต้นก่อนนาไปประยุกต์ในสัตว์ทดลองต่อไป และจากการศึกษาในครั้งนี้พบว่ากระเทียมผงสายพันธุ์เชียงใหม่มีค่าน้าหนักแห้ง 90.75 ± 0.03% โปรตีนทั้งหมด 26.86 ± 0.09% ไขมันทั้งหมด 0.94 ± 0.19% กากอาหารทั้งหมด 4.62 ± 0.03% และเถ้า 3.89 ± 0.04% ซึ่งเป็นปริมาณที่มากกว่ากระเทียมผงสายพันธุ์อื่น ๆ อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ ส่วนค่าไนโตรเจนฟรีเอ็กซ์แทรกจะมีมากที่สุดอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติในกระเทียมผงสายพันธุ์จีนอยู่ที่ 63.39 ± 0.33% สาหรับปริมาณสารแอลลิซินพบว่ากระเทียมผงสายพันธุ์จีนมีปริมาณสารแอลลิซินสูงที่สุดในปริมาณ 7.27 ± 0.55 มิลลิกรัมต่อกระเทียมผง 1 กรัม ในขณะที่กระเทียมผงสายพันธุ์ศรีสะเกษและเชียงใหม่มีปริมาณสารอัลลิซินในปริมาณ 3.68 ± 0.06 และ 4.82 ± 0.02 มิลลิกรัมต่อกระเทียมผง 1 กรัมตามลาดับ (P<0.05)en_US
dc.languageThaen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการen_US
dc.titleองค์ประกอบทางโภชนาการและปริมาณสารอัลลิซินในกระเทียมผงสายพันธุ์ศรีสะเกษ เชียงใหม่ และจีนen_US
dc.title.alternativeNutritional Compositions and Allicin Content in Garlic Powder Si Sa Ket, Chiang Mai and Chinese Garlic Cultivarsen_US
dc.typeบทความวารสารen_US
article.title.sourcetitleวารสารเกษตรen_US
article.volume33en_US
article.stream.affiliationsภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ จ. สงขลา 90110en_US
article.stream.affiliationsภาควิชาเภสัชเวทและเภสัชพฤกษศาสตร์ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ จ. สงขลา 90110en_US
article.stream.affiliationsคณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ จ. สงขลา 90110en_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.