Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64496
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorสุพิชฌาย์ แสนสุวรรณ์en_US
dc.contributor.authorเยาวลักษณ์ จันทร์บางen_US
dc.date.accessioned2019-05-07T10:02:10Z-
dc.date.available2019-05-07T10:02:10Z-
dc.date.issued2560en_US
dc.identifier.issn0857-0842en_US
dc.identifier.urihttp://journal.agri.cmu.ac.th/pdf/J00135_C01028.pdfen_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64496-
dc.descriptionวารสารเกษตร เป็นวารสารวิชาการของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยวารสารจะออกราย 4 เดือน (มกราคม พฤษภาคม และกันยายน) ซึ่งจะพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิชาการสาขา เกษตรศาสตร์ อุตสาหกรรมเกษตร สัตวแพทย์ และชีววิทยา ทั้งจากภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย และปัจจุบันวารสารเกษตรอยู่ในฐานข้อมูลระดับชาติ ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (TCI)en_US
dc.description.abstractการศึกษาผลของความร้อนจากระบบการผลิตอาหารสุกรในการยับยั้งไร Suidasia pontifica เป็นไรที่พบในอาหารสัตว์ ตัวอย่างอาหารสุกรที่สุ่มจาก 5 ขั้นตอนการผลิตหลัก ได้แก่ mixer, conditioner (ความร้อน 79 C ประมาณ 30 วินาที), pelleting (มีความร้อน 83 C เป็นเวลาต่ากว่า 1 วินาที), cooler และ warehouse นามาเก็บรักษาในห้องปฏิบัติการที่อุณหภูมิ 29.74 ± 2.25 C และความชื้นสัมพัทธ์ 64 ± 11.38% จากนั้นสุ่มตัวอย่างอาหารสัตว์และตรวจนับจำนวนไรทุก 4 วัน พบว่า อาหารที่ตาแหน่ง mixer เริ่มพบไรในวันที่ 52 ในขณะที่ตาแหน่ง conditioner และ pelleting เริ่มพบไรในวันที่ 56 และ 64 ตามลำดับ ซึ่งอาหารที่ผ่านความร้อนในตำแหน่ง conditioner และ pelleting พบการปนเปื้อนไรช้ากว่าตำแหน่งที่ไม่มีการใช้ความร้อน (mixer) 4 และ 12 วัน ตามลำดับ ส่วนอาหารในตำแหน่ง cooler และ warehouse ซึ่งอาหารกลับมาผ่านอุณหภูมิสภาพบรรยากาศประมาณ 30-40 C เริ่มพบไรเช่นเดียวกับตำแหน่ง conditioner และ pelleting ในการทดลองที่ 2 ได้นาฟอร์มาลดีไฮด์ร่วมกับกรดโพรพิโอนิก อัตรา 3 กิโลกรัมต่อตัน มาใช้ผสมกับอาหารสุกรระหว่างการผลิต สุ่มตัวอย่างมาเก็บรักษาไว้ที่อุณหภูมิ 27.25 ± 2.55 C และความชื้นสัมพัทธ์ 65.03 ± 9.18% ตรวจนับจำนวนไรทุก 4 วัน พบว่า ในวันที่ 32 เริ่มพบไรในตำแหน่ง mixer, warehouse และชุดควบคุม (ไม่ใช้ฟอร์มาลดีไฮด์ร่วมกับกรดโพรพิโอนิก) ส่วนอาหารในตำแหน่ง conditioner และ pelleting เริ่มพบไรในวันที่ 52 และ 48 วัน ตามลำดับ ผลการทดลองแสดงให้เห็นว่าการใช้ฟอร์มาลดีไฮด์ร่วมกับกรดโพรพิโอนิกในการผลิตอาหารสุกร มีผลทำให้วันที่เริ่มพบไรในตำแหน่ง conditioner และ pelleting ช้ากว่าในตำแหน่ง mixer, warehouse และชุดควบคุม 20 และ 16 วันตามลำดับen_US
dc.languageThaen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการen_US
dc.titleการควบคุมไร Suidasia pontifica ด้วยความร้อนและฟอร์มาลดีไฮด์ร่วมกับกรดโพรพิโอนิกในอาหารสุกรen_US
dc.title.alternativeControl of Suidasia pontifica Using Heat and Formaldehyde Incorporated with Propionic Acid in Swine Feeden_US
dc.typeบทความวารสารen_US
article.title.sourcetitleวารสารเกษตรen_US
article.volume33en_US
article.stream.affiliationsภาควิชากีฏวิทยาและโรคพืช คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จ.เชียงใหม่ 50200en_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.