Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64486
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorวีรเทพ พงษ์ประเสริฐen_US
dc.contributor.authorสมชาย ธนสินชยกุลen_US
dc.contributor.authorไสว บูรณพานิชพันธุ์en_US
dc.contributor.authorเจตน์ คชฤกษ์en_US
dc.date.accessioned2019-05-07T10:02:09Z-
dc.date.available2019-05-07T10:02:09Z-
dc.date.issued2560en_US
dc.identifier.issn0857-0842en_US
dc.identifier.urihttp://journal.agri.cmu.ac.th/pdf/J00135_C01026.pdfen_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64486-
dc.descriptionวารสารเกษตร เป็นวารสารวิชาการของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยวารสารจะออกราย 4 เดือน (มกราคม พฤษภาคม และกันยายน) ซึ่งจะพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิชาการสาขา เกษตรศาสตร์ อุตสาหกรรมเกษตร สัตวแพทย์ และชีววิทยา ทั้งจากภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย และปัจจุบันวารสารเกษตรอยู่ในฐานข้อมูลระดับชาติ ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (TCI)en_US
dc.description.abstractพืชต้านทานเป็นวิธีการควบคุมหลักที่สำคัญในกลยุทธ์ของการบริหารจัดการศัตรูพืช จึงได้ทำการศึกษาถึงปฏิกิริยาของ ข้าวสายพันธุ์ลูกผสมกลับ BC4F3-4 ((อาบาญ่า/ขาวดอกมะลิ 105) x ชัยนาท 1) จำนวน 6 สายพันธุ์ ร่วมกับ พันธุ์ข้าวมาตรฐานทดสอบ จำนวน 10 พันธุ์ โดยใช้กลุ่มประชากรเพลี้ยกระโดดหลังขาว ครอบคลุมพื้นที่ 5 จังหวัด คือ สุโขทัย พิษณุโลก กำแพงเพชร พิจิตร และ นครสวรรค์ ในสภาพเรือนทดลอง ปลูกสายพันธุ์ข้าวและพันธุ์ข้าวทดสอบในกระบะเพาะ ภายในกรงเลี้ยงแมลง ปล่อยตัวอ่อนเพลี้ยกระโดดหลังขาววัยที่ 2-3 จำนวนเฉลี่ย 5 ตัวต่อต้น ตรวจสอบปฏิกิริยาของข้าวต่อการลงทำลายในวันที่ 14 วันหลังปล่อยเพลี้ยลงทำลาย ด้วยมาตรฐานการประเมินของสถาบันวิจัยข้าวนานาชาติ คัดเลือกสายพันธุ์ข้าวที่เหมาะสม และทำการวิเคราะห์ลักษณะการแสดงออกของปฏิกิริยาของข้าวต่อการเข้าทำลายของเพลี้ยกระโดดหลังขาวกับโมเลกุลเครื่องหมายแบบ SSR พบว่า สายพันธุ์ข้าวที่มีความโดดเด่นมากที่สุดคือ A12-26-201-428 แสดงปฏิกิริยาต้านทานต่อการลงทำลายของประชากรเพลี้ยกระโดดหลังขาวครอบคลุมทั้ง 5 จังหวัด ภาคเหนือตอนล่างมากที่สุด และพบตำแหน่งของยีนที่แสดงความต้านทานต่อเพลี้ยกระโดดหลังขาวใกล้กับโมเลกุลเครื่องหมาย 2 ตาแหน่ง คือ RM463 และ RM225 ที่มีความสัมพันธ์กับลักษณะความต้านทานต่อเพลี้ยกระโดดหลังขาวจากจังหวัดพิจิตรและให้ชื่อ QTL เหล่านี้ว่า qRmWBPH6 และ qRmWBPH12 ซึ่ง QTL นี้วางตัวอยู่บนโครโมโซมที่ 6 และ 12 ตามลาดับen_US
dc.languageThaen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการen_US
dc.titleปฏิกิริยาของข้าวลูกผสมกลับ BC4F3-4 (ขาวดอกมะลิ 105/อาบาญ่า) x ชัยนาท 1 กับเพลี้ยกระโดดหลังขาวen_US
dc.title.alternativeReactions of Backcross Rice Lines BC4F3-4 (KDML105/Abhaya) x Chai Nat 1 on Whitebacked Planthopperen_US
dc.typeบทความวารสารen_US
article.title.sourcetitleวารสารเกษตรen_US
article.volume33en_US
article.stream.affiliationsภาควิชาวิทยาศาสตร์การเกษตร คณะเกษตรศาสตร์ ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยนเรศวร อ.เมือง จ.พิษณุโลก 65000en_US
article.stream.affiliationsภาควิชากีฏวิทยา คณะเกษตร กาแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน ต.กาแพงแสน อ.กาแพงแสน จ.นครปฐม 73140en_US
article.stream.affiliationsภาควิชากีฏวิทยาและโรคพืช คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 50200en_US
article.stream.affiliationsศูนย์วิจัยข้าวพิษณุโลก อ. วังทอง จ.พิษณุโลก 65000en_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.