Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64473
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorรัชฎาวรรณ เงินกลั่นen_US
dc.contributor.authorเบญจคุณ แสงทองพราวen_US
dc.date.accessioned2019-05-07T10:02:09Z-
dc.date.available2019-05-07T10:02:09Z-
dc.date.issued2559en_US
dc.identifier.issn0857-0842en_US
dc.identifier.urihttp://journal.agri.cmu.ac.th/pdf/J00134_C01015.pdfen_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64473-
dc.descriptionวารสารเกษตร เป็นวารสารวิชาการของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยวารสารจะออกราย 4 เดือน (มกราคม พฤษภาคม และกันยายน) ซึ่งจะพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิชาการสาขา เกษตรศาสตร์ อุตสาหกรรมเกษตร สัตวแพทย์ และชีววิทยา ทั้งจากภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย และปัจจุบันวารสารเกษตรอยู่ในฐานข้อมูลระดับชาติ ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (TCI)en_US
dc.description.abstractระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ เทคโนโลยีการสำรวจระยะไกล และการสร้างแบบจำลองถิ่นอำศัยด้วยซอตต์แวร์ Maxent ได้ถูกนำมาใช้ในการสร้างแผนที่ทำนายความเสี่ยงสำหรับเพลี้ยแป้งมันสำปะหลังสีชมพู Phenacoccus manihoti Matile-Ferrero ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคตะวันออกของประเทศไทย โดยทำการสำรวจประชากรเพลี้ยแป้งมันสำปะหลังสีชมพูในพื้นที่เพาะปลูกมันสำปะหลังจำนวน 255 แปลง ครอบคลุมจังหวัดปราจีนบุรี ระยอง สระแก้ว และนครราชสีมา ระหว่างเดือนมิถุนายน 2556 ถึง มกราคม 2557 ได้ข้อมูลตำแหน่งพิกัดภูมิศาสตร์ของแปลงที่ปรากฏเพลี้ยแป้งมันสำปะหลังสีชมพูจำนวน 204 แปลง และข้อมูลด้านสิ่งแวดล้อมจากภาพถ่ายดาวเทียม MODIS และ สถานีตรวจอากาศอัตโนมัติ 12 สถานี มาทาการสร้างแบบจำลองการกระจายตัวของประชากร พบว่าพื้นที่ที่มีปริมาณน้ำฝนรายเดือนระดับต่ำที่ 100-135 มม. ค่าอุณหภูมิผิวดินระหว่างวัน (LSTD) ที่ -100 ถึง -30 ºC และค่าดัชนีพืชพรรณ (NDVI) ระหว่าง -0.3 และ 0.6 เป็นสภาวะแวดล้อมที่เหมาะสมกับเพลี้ยแป้งมันสำปะหลังสีชมพู ค่า AUC ที่ 0.981 แสดงว่าแบบจำลองมีความน่าเชื่อถือในระดับดีเยี่ยม พื้นที่เสี่ยงที่ระดับอำเภอในจังหวัดนครราชสีมา ปราจีนบุรี สระแก้ว ฉะเชิงเทรา ชลบุรี และระยองได้ถูกอธิบายไว้ในการศึกษาครั้งนี้en_US
dc.languageThaen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการen_US
dc.titleระบบสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจและการจัดการเพลี้ยแป้งมันสาปะหลังสีชมพู Phenacoccus manihoti Matile-Ferrero (Hemiptera: Pseudococcidae) ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคตะวันออกของประเทศไทยen_US
dc.title.alternativeInformation System for Decision Making and Managing Cassava Pink Mealybug, Phenacoccus manihoti Matile-Ferrero (Hemiptera: Pseudococcidae) in Northeastern and Eastern Thailanden_US
dc.typeบทความวารสารen_US
article.title.sourcetitleวารสารเกษตรen_US
article.volume32en_US
article.stream.affiliationsภาควิชากีฏวิทยา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 10900en_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.