Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64469
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorจีราภรณ์ อินทสารen_US
dc.contributor.authorฉัตรปวีณ์ เดชจิรรัตนสิริen_US
dc.contributor.authorประวิทย์ บุญมีen_US
dc.date.accessioned2019-05-07T10:02:09Z-
dc.date.available2019-05-07T10:02:09Z-
dc.date.issued2559en_US
dc.identifier.issn0857-0842en_US
dc.identifier.urihttp://journal.agri.cmu.ac.th/pdf/J00134_C01017.pdfen_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64469-
dc.descriptionวารสารเกษตร เป็นวารสารวิชาการของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยวารสารจะออกราย 4 เดือน (มกราคม พฤษภาคม และกันยายน) ซึ่งจะพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิชาการสาขา เกษตรศาสตร์ อุตสาหกรรมเกษตร สัตวแพทย์ และชีววิทยา ทั้งจากภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย และปัจจุบันวารสารเกษตรอยู่ในฐานข้อมูลระดับชาติ ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (TCI)en_US
dc.description.abstractการศึกษาผลของการใช้วัสดุปรับปรุงดินร่วมกับเชื้อแบคทีเรียที่สามารถย่อยสลายฟอสเฟตต่อการเปลี่ยนแปลงคุณสมบัติของดินใต้ทรงพุ่มมะรุม ในแปลงผลิตเมล็ดพันธุ์มะรุมของศูนย์พัฒนาพันธุ์พืชจักรพันธ์เพ็ญศิริ จังหวัดเชียงราย ตั้งแต่เดือนมกราคม - ธันวาคม 2557 โดยพบเชื้อแบคทีเรียที่ย่อยสลายฟอสเฟตทั้งหมด 15 ไอโซเลท ซึ่งเชื้อแบคทีเรียไอโซเลทที่ 14 มีความสามารถในการย่อยสลายฟอสเฟตโดยวัดความกว้างของวงใสในอาหารเลี้ยงเชื้อ สูงที่สุดคือ 1.25 เซนติเมตร จึงนามาขยายเป็นเชื้อแบคทีเรียชนิดเหลวที่มีปริมาณเชื้อ 1 x 108 CFU/ml เพื่อนามาวางแผนการทดลองแบบสุ่มลงในบล็อคอย่างสมบูรณ์ (RCBD) ประกอบด้วย 4 ตารับทดลอง 4 ซ้า ดังนี้ 1) ตำรับควบคุม (control) 2) ตำรับที่ใส่ปูนโดโลไมท์ อัตรา 100 กิโลกรัม/ไร่ 3) ตำรับที่ใส่หินฟอตเฟต อัตรา 50 กิโลกรัม/ไร่ และ 4) ตำรับที่ใส่หินฟอตเฟต อัตรา 50 กิโลกรัม/ไร่ ร่วมกับเชื้อจุลินทรีย์ย่อยสลายฟอสเฟต พบว่า ค่าความเป็นกรดด่างของดินใต้ทรงพุ่มมะรุมหลังใส่ปูนโดโลไมท์ หินฟอสเฟต และการใส่หินฟอสเฟตร่วมกับเชื้อแบคทีเรียย่อยสลายฟอสเฟต สูงกว่าตำรับควบคุมในเดือนที่ 3 และ 6 หลังใส่ตารับทดลอง ปริมาณอินทรีย์วัตถุในดินมีค่าเฉลี่ย 3.80 และ 2.83% ในเดือนที่ 3 และ 3.86 และ 3.25% ในเดือนที่ 6 หลังใส่ตารับทดลองในดินระดับบนและดินระดับล่างตามลำดับแต่ไม่มีความแตกต่างในทางสถิติ ปริมาณฟอสเฟตที่สกัดได้ใต้ทรงพุมมะรุมสูงที่สุดเมื่อมีใส่หินฟอตเฟต อัตรา 50 กิโลกรัม/ไร่ ร่วมกับเชื้อจุลินทรีย์ย่อยสลายฟอสเฟต คือ 58 mg kg-1 ในดินระดับบน หลังจากใส่ตารับทดลอง 3 เดือน (P<0.05) การใส่โดโลไมท์ อัตรา 100 กก/ไร่ ส่งผลให้ปริมาณแคลเซียมที่สกัดได้สูงที่สุดคือ 1,640 และ 1,214 mg kg-1 หลังใส่ตำรับทดลอง 3 และ 6 เดือน ตามลำดับ (P<0.01) ขณะที่ปริมาณโพแทสเซียม แมกนีเซียม และ ธาตุอาหารเสริมทุกตัวที่สกัดได้ในดินไม่มีความแต่ต่างในทางสถิติระหว่างตำรับทดลองในดินใต้ทรงพุ่มมะรุม ที่ระยะ 3 และ 6 เดือนหลังการใส่ตำรับทดลองen_US
dc.languageThaen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการen_US
dc.titleผลของการใช้วัสดุปรับปรุงดินร่วมกับเชื้อแบคทีเรียที่สามารถย่อยสลายฟอสเฟตต่อการเปลี่ยนแปลงสมบัติทางเคมีของดินภายใต้ทรงพุ่มมะรุมen_US
dc.title.alternativeEffect of Soil Amendments Combined with Phosphate Solubilizing Bacteria on Soil Chemical Properties under Moringa Canopyen_US
dc.typeบทความวารสารen_US
article.title.sourcetitleวารสารเกษตรen_US
article.volume32en_US
article.stream.affiliationsสาขาวิชาทรัพยากรดินและสิ่งแวดล้อม คณะผลิตกรรมการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จังหวัดเชียงใหม่ 50290en_US
article.stream.affiliationsศูนย์พัฒนาพันธุ์พืชจักรพันธ์เพ็ญศิริ ตาบลโป่งผา อาเออแม่สาย จังหวัดเชียงราย 57130en_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.