Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64458
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | สุภาภรณ์ ญะเมืองมอญ | en_US |
dc.contributor.author | ชนากานต์ เทโบลต์ พรมอุทัย | en_US |
dc.date.accessioned | 2019-05-07T10:02:08Z | - |
dc.date.available | 2019-05-07T10:02:08Z | - |
dc.date.issued | 2559 | en_US |
dc.identifier.issn | 0857-0842 | en_US |
dc.identifier.uri | http://journal.agri.cmu.ac.th/pdf/J00133_C00998.pdf | en_US |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64458 | - |
dc.description | วารสารเกษตร เป็นวารสารวิชาการของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยวารสารจะออกราย 4 เดือน (มกราคม พฤษภาคม และกันยายน) ซึ่งจะพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิชาการสาขา เกษตรศาสตร์ อุตสาหกรรมเกษตร สัตวแพทย์ และชีววิทยา ทั้งจากภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย และปัจจุบันวารสารเกษตรอยู่ในฐานข้อมูลระดับชาติ ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (TCI) | en_US |
dc.description.abstract | ข้าวเหนียวดำหรือข้าวเหนียวก่ำอุดมไปด้วยสารสาคัญที่มีคุณค่าทางโภชนาการสูง มีสารรงควัตถุให้สีคือ แอนโทไซยานินที่อยู่บริเวณเยื่อหุ้มเมล็ด ซึ่งมีคุณสมบัติในการต้านอนุมูลอิสระที่ก่อให้เกิดโรคสาคัญหลายชนิด ทาให้ปัจจุบันข้าวเหนียวก่าเป็นข้าวที่ได้รับความนิยมสูงในกลุ่มผู้บริโภคที่รักสุขภาพ การทดลองนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินความแปรปรวนของผลผลิต ปริมาณแอนโทไซยานินและ ความสามารถในการต้านอนุมูลอิสระ ในข้าวเหนียวก่าพันธุ์พื้นเมือง 19 พันธุ์ โดยวางแผนการทดลองแบบ RCBD จานวน 3 ซ้ำ ปลูกข้าวเหนียวก่าทั้งหมดในสภาพการจัดการเดียวกัน เก็บเกี่ยวเมล็ดในระยะสุกแก่เพื่อประเมินผลผลิตและวิเคราะห์ปริมาณแอนโทไซยานินและความสามารถในการต้านอนุมูลอิสระในข้าวกล้อง ผลการทดลองพบว่า มีความแตกต่างของผลผลิต แอนโทไซยานินและ ความสามารถในการต้านอนุมูลอิสระระหว่างข้าวเหนียวก่าทั้ง 19 พันธุ์ โดยมีผลผลิตอยู่ในช่วง 260 - 625 กิโลกรัม/ไร่ ปริมาณแอนโทไซยานินมีค่าอยู่ในช่วง 9.73 - 54.68 มิลลิกรัม/100 กรัม และ ความสามารถในการต้านอนุมูลอิสระมีค่าอยู่ในช่วง 251.76 - 709.38 มิลลิกรัม Trolox/100 กรัม และ 2304.6 - 6247.0 ไมโครโมล Fe(II)/100 กรัม วัดโดยวิธี DPPH และ FRAP ตามลำดับ โดยพบว่า พันธุ์ก่ำ 7677 เป็นพันธุ์ที่มีผลผลิต แอนโทไซยินและความสามารถในการต้านอนุมูลอิสระสูง นอกจากนี้ยังพบว่า การวัดความสามารถในการต้านอนุมูลอิสระที่วัดได้จากทั้งสองวิธีมีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (r = 0.71, p < 0.01) ในขณะที่ไม่พบความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณแอนโทไซยานินและความสามารถในการต้านอนุมูลอิสระที่วัดได้ทั้งสองวิธี แสดงให้เห็นว่า แอนโทไซยานินเป็นสารที่ทาให้เกิดสีดาในข้าวเหนียวก่าแต่อาจจะไม่ใช่องค์ประกอบหลักของสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพเพียงตัวเดียวในการต้านอนุมูลอิสระที่พบในข้าวเหนียวก่าที่เป็นข้าวกล้อง น่าจะมีสารชนิดอื่นๆ ที่ออกฤทธิ์ในการต้านอนุมูอิสระอีกที่มีบทบาทสาคัญและทาหน้าที่ร่วมกัน ซึ่งเป็นประเด็นที่น่าสนใจในการศึกษาวิจัยเพื่อการนาไปใช้ประโยชน์ต่อไป อย่างไรก็ตามผลการทดลองนี้สามารถนามาใช้เป็นฐานข้อมูลเบื้องต้นสาหรับการศึกษากลไกการสะสมสารแอนโทไซยานินที่ไม่สอดคล้องกับความสามารถในการต้านอนุมูลอิสระที่พบในข้าวเหนียวก่า รวมทั้งการคัดเลือกพันธุกรรมข้าวเหนียวก่าเพื่อนาไปใช้ในการปรับปรุงพันธุ์ข้าวเหนียวก่าให้มีปริมาณแอนโทไซยานินและความสามารถในการต้านอนุมูลอิสระสูงเพื่อประโยชน์ต่อผู้บริโภคต่อไป | en_US |
dc.language | Tha | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ | en_US |
dc.title | ความแปรปรวนของปริมาณแอนโทไซยานินและความสามารถในการต้านอนุมูลอิสระของข้าวเหนียวก่าพันธุ์พื้นเมืองของไทย | en_US |
dc.title.alternative | Variation of Anthocyanin Content and Antioxidant Capacity among Local Thai Purple Glutinous Rice Genotypes | en_US |
dc.type | บทความวารสาร | en_US |
article.title.sourcetitle | วารสารเกษตร | en_US |
article.volume | 32 | en_US |
article.stream.affiliations | สาขาวิชาพืชไร่ ภาควิชาพืชศาสตร์และปฐพีศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จ.เชียงใหม่ 50200 | en_US |
article.stream.affiliations | ศูนย์วิจัยข้าวล้านนา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จ.เชียงใหม่ 50200 | en_US |
Appears in Collections: | CMUL: Journal Articles |
Files in This Item:
There are no files associated with this item.
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.