Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64454
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | เทียนทิพย์ ไกรพรม | en_US |
dc.contributor.author | อับดุลเลาะ สาแม | en_US |
dc.date.accessioned | 2019-05-07T10:02:08Z | - |
dc.date.available | 2019-05-07T10:02:08Z | - |
dc.date.issued | 2558 | en_US |
dc.identifier.issn | 0857-0842 | en_US |
dc.identifier.uri | http://journal.agri.cmu.ac.th/pdf/J00129_C00969.pdf | en_US |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64454 | - |
dc.description | วารสารเกษตร เป็นวารสารวิชาการของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยวารสารจะออกราย 4 เดือน (มกราคม พฤษภาคม และกันยายน) ซึ่งจะพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิชาการสาขา เกษตรศาสตร์ อุตสาหกรรมเกษตร สัตวแพทย์ และชีววิทยา ทั้งจากภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย และปัจจุบันวารสารเกษตรอยู่ในฐานข้อมูลระดับชาติ ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (TCI) | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนีมี้วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาคุณค่าทางโภชนะของพืชที่นำมาใช้ในการเลี้ยงแกะในพื้นที่จังหวัดปัตตานี โดยสุ่มตัวอย่างเกษตรกรจำนวน 360 ราย จากเกษตรกรผู้เลี้ยงแกะในจังหวัดปัตตานีจำนวนทั้งสิ้น 3,632 ราย ใน 12 อำเภอของจังหวัดปัตตานี ใช้วิธีสุ่มตัวอย่างแบบอย่างง่ายและเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ วิเคราะห์ข้อมูลอธิบายผลการทดลองโดยใช้ค่าสถิติ ความถี่และร้อยละ ทำการเก็บตัวอย่างพืชที่เกษตรกรนำมาใช้เลี้ยงแกะ ผลการศึกษาพบว่าเกษตรกรที่เลี้ยงแกะส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีอายุระหว่าง 36-45 ปี มีระดับการศึกษาอยู่ในช่วงประถมศึกษา มีการเลี้ยงแกะอยู่ในช่วง 1-5 ตัวต่อครัวเรือน ระบบการเลี้ยงเป็นแบบปล่อยแทะเล็ม สำหรับพืชอาหารสัตว์ที่ใช้เลี้ยงแกะพบว่าจากการศึกษาคุณค่าทางโภชนะของพืชอาหารสัตว์ที่เกษตรกรนิยมนำมาปลูกให้แกะกินพบว่า เกษตรกรใช้กระถิน หญ้ากินนีสีม่วง หญ้าเนเปียร์ปากช่อง และหญ้าขน ในการเลี้ยงแกะ โดยมีค่าวัตถุแห้ง โปรตีน ผนังเซลล์ และลิกโนเซลลูโลสอยู่ในช่วงร้อยละ 8.50-29.12, 36.72-71.10 และ 27.27-39.44 ส่วนพืชธรรมชาติที่เกษตรกรนิยมนำมาใช้เลี้ยงแกะ ได้แก่ย่าหยา หญ้าเห็บ หญ้าสะกาดน้ำเค็ม หญ้าปล้อง แสมขาว ถั่วลิสงนา และ โพทะเล โดยมีค่าวัตถุแห้ง โปรตีน ผนังเซลล์ และลิกโนเซลลูโลสอยู่ในช่วงร้อยละ 8.10-19.78, 26.05-56.72 และ 17.73-32.28 ตามลำดับ | en_US |
dc.language | Tha | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ | en_US |
dc.title | การสำรวจสถานภาพการเลี้ยงแกะและศึกษาคุณค่าทางโภชนะของพืชที่ใช้เลี้ยงแกะในจังหวัดปัตตานี | en_US |
dc.title.alternative | Survey of Sheep Production Situation and Nutritive Value Study of Plants for Sheep Raising in Pattani Province | en_US |
dc.type | บทความวารสาร | en_US |
article.title.sourcetitle | วารสารเกษตร | en_US |
article.volume | 31 | en_US |
article.stream.affiliations | ภาควิชาเทคโนโลยีและการอุตสาหกรรม คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี | en_US |
Appears in Collections: | CMUL: Journal Articles |
Files in This Item:
There are no files associated with this item.
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.