Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64432
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorปลันธนา ฐาปนพงษ์วรกุลen_US
dc.contributor.authorชนากานต์ รัตนศักดิ์ชัยชาญen_US
dc.date.accessioned2019-05-07T10:02:07Z-
dc.date.available2019-05-07T10:02:07Z-
dc.date.issued2559en_US
dc.identifier.issn0857-0842en_US
dc.identifier.urihttp://journal.agri.cmu.ac.th/pdf/J00131_C00977.pdfen_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64432-
dc.descriptionวารสารเกษตร เป็นวารสารวิชาการของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยวารสารจะออกราย 4 เดือน (มกราคม พฤษภาคม และกันยายน) ซึ่งจะพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิชาการสาขา เกษตรศาสตร์ อุตสาหกรรมเกษตร สัตวแพทย์ และชีววิทยา ทั้งจากภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย และปัจจุบันวารสารเกษตรอยู่ในฐานข้อมูลระดับชาติ ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (TCI)en_US
dc.description.abstractเชื้อรา Colletotrichum gloeosporioides เป็นเชื้อสาเหตุของโรคแอนแทรคโนสในพริกและพืชหลากหลายชนิด ทาให้คุณภาพและผลผลิตเสียหาย จากการนาเศษเหลือของพริกจากแปลงปลูกของเกษตรกรมาทาน้าสกัดชีวภาพ 2 สูตร คือ สูตร 1 (ลาต้นและใบ) และ สูตร 2 (ผลพริก) มาทดสอบประสิทธิภาพของน้าสกัดชีวภาพต่อการยับยั้งการเจริญของ เชื้อรา C. gloeosporioides ด้วยวิธี poisoned food technique บนอาหารเลี้ยงเชื้อ potato dextrose agar (PDA) ที่ความเข้มข้น 25, 37.5 และ 50 เปอร์เซ็นต์ (v/v) เป็นเวลา 3, 5, 7, 9 และ 12 วัน ตามลาดับ พบว่า น้าสกัดชีวภาพสูตร 2 ทุกระดับความเข้มข้น มีผลต่อการยับยั้งการเจริญของเชื้อสาเหตุ โดยที่ความเข้มข้น 37 เปอร์เซ็นต์ (v/v) มีการยับยั้งได้ดีที่สุดเท่ากับ 48.67 เปอร์เซ็นต์ ซึ่งแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (P<0.05) ในขณะที่ความเข้มข้น 25 และ 50 เปอร์เซ็นต์ (v/v) มีการยับยั้งเท่ากับ 37.12 และ 8.14 เปอร์เซ็นต์ ตามลาดับ เมื่อทดสอบผลของน้าสกัดชีวภาพต่อการสร้างสปอร์และการยับยั้งการงอกของสปอร์เชื้อสาเหตุ ด้วยการพ่นน้าสกัดชีวภาพทั้ง 2 สูตรในทุกความเข้มข้นลงบนสปอร์ของเชื้อสาเหตุบนชิ้นวุ้น (WA) บ่มเชื้อเป็นเวลา 24 ชั่วโมง พบว่า น้าสกัดชีวภาพสูตร 2 ส่งผลทาให้จานวนสปอร์ลดลงและการงอกของสปอร์ผิดปกติ จากนั้นจึงคัดเลือกน้าสกัดชีวภาพสูตร 2 ที่ความเข้มข้น 37 เปอร์เซ็นต์ (v/v) มาทดสอบผลของน้าสกัดชีวภาพต่อการเกิดโรคแอนแทรคโนส โดยพ่นน้าสกัดชีวภาพบนใบพริกในระยะกล้าก่อนปลูกเชื้อสาเหตุเป็นเวลา 48 ชั่วโมง พบว่า น้าสกัดชีวภาพสูตร 2 ยังสามารถก่อให้เกิดโรคได้บ้างเล็กน้อยซึ่งแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (P<0.05) เมื่อเปรียบเทียบกับกรรมวิธีที่พ่นสปอร์แขวนลอยของเชื้อสาเหตุอย่างเดียว นอกจากนี้ ในกรรมวิธีพ่นน้าสกัดชีวภาพสูตร 2 + พ่นสปอร์แขวนลอยของเชื้อสาเหตุ และกรรมวิธีพ่นน้าสกัดชีวภาพ + พ่น พด. 2 + พ่นสปอร์แขวนลอยของเชื้อสาเหตุ มีผลให้ระดับความรุนแรงของโรคและการเข้าทาลายของเชื้อสาเหตุลดลงไม่แตกต่างจากกรรมวิธีที่พ่นสปอร์แขวนลอยของเชื้อสาเหตุอย่างเดียวอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ จากผลการทดลองสรุปได้ว่าการใช้น้าสกัดชีวภาพจากเศษเหลือของพริก โดยเฉพาะจากผลพริกมีประสิทธิภาพในการยับยั้งการเจริญของเชื้อสาเหตุบนอาหารเลี้ยงเชื้อ PDA แต่ยังไม่สามารถควบคุมเชื้อสาเหตุบนพืชอาศัยได้อย่างเป็นที่น่าพอใจen_US
dc.languageThaen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการen_US
dc.titleประสิทธิภาพของน้ำสกัดชีวภาพจากเศษเหลือพริกต่อการยับยั้งเชื้อรา Colletotrichum gloeosporioides ในสภาพห้องปฏิบัติการen_US
dc.title.alternativeEfficacy of Bio-extracts from Chili Residues against Colletotrichum gloeosporioides In Vitroen_US
dc.typeบทความวารสารen_US
article.title.sourcetitleวารสารเกษตรen_US
article.volume32en_US
article.stream.affiliationsภาควิชากีฏวิทยาและโรคพืช คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จ.เชียงใหม่ 50200en_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.