Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64425
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorจริยา สีดวงแก้วen_US
dc.contributor.authorจิราพร กุลสารินen_US
dc.contributor.authorไสว บรูณพานิชพันธุ์en_US
dc.contributor.authorสิริญา คัมภิโรen_US
dc.date.accessioned2019-05-07T10:02:07Z-
dc.date.available2019-05-07T10:02:07Z-
dc.date.issued2558en_US
dc.identifier.issn0857-0842en_US
dc.identifier.urihttp://journal.agri.cmu.ac.th/content.asp?JID=128&CID=954en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64425-
dc.descriptionวารสารเกษตร เป็นวารสารวิชาการของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยวารสารจะออกราย 4 เดือน (มกราคม พฤษภาคม และกันยายน) ซึ่งจะพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิชาการสาขา เกษตรศาสตร์ อุตสาหกรรมเกษตร สัตวแพทย์ และชีววิทยา ทั้งจากภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย และปัจจุบันวารสารเกษตรอยู่ในฐานข้อมูลระดับชาติ ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (TCI)en_US
dc.description.abstractการศึกษาชีววิทยาของเพลี้ยจักจั่นฝ้าย (Amrasca biguttula biguttula (Ishida) (Hemiptera: Cicadellidae)) และประสิทธิภาพของสารฆ่าแมลงในการควบคุมในมะเขือม่วงได้ดำเนินการที่คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยเลี้ยงเพลี้ยจักจั่นฝ้ายในกรงภายใต้โรงเรือนตาข่ายที่อุณหภูมิ 27.80 ±0.90 องศาเซลเซียส ความชื้นสัมพัทธ์ 59.32 ±1.35 เปอร์เซ็นต์ ระยะไข่และระยะตัวอ่อนวัยที่ 1-5 ของเพลี้ยจักจั่นฝ้ายมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 6.50 ±0.50, 1.60 ±0.53, 1.30 ±0.47, 1.25 ±0.44, 1.40 ±0.50 และ 1.65 ±0.478 วัน ตามลำดับ ใช้เวลาในระยะตัวอ่อนนาน 7.55 ±2.06 วัน วงจรชีวิตตั้งแต่ระยะไข่จนพัฒนาเป็นตัวเต็มวัยเท่ากับ 21.95 ±1.05 วัน ตัวเต็มวัยเพศผู้และเพศเมียมีอายุ 23.40 ±2.13 และ 25.55 ±2.39 วัน ตามลำดับ สำหรับการทดสอบประสิทธิภาพของสารเคมีฆ่าแมลง สารสกัดจากพืช และสารชีวภัณฑ์ ได้ดำเนินการในห้องปฏิบัติการ โดยวางแผนการทดลองแบบ CRD แต่ละกรรมวิธีประกอบด้วย 3 ซ้ำ ผลการศึกษาพบว่า สารเคมีฆ่าแมลง อะบาเม็กติน คาร์บาริล และไซเพอร์เมทริน มีประสิทธิภาพสูงสุด ทำให้ตัวอ่อนวัยที่ 3 ของเพลี้ยจักจั่นฝ้ายตาย 100.00 เปอร์เซ็นต์ ขณะที่สารชีวภัณฑ์เชื้อรา Metarhizium anisopliae สามารถใช้ควบคุมเพลี้ยจักจั่นฝ้ายได้ โดยให้เปอร์เซ็นต์การตายของตัวอ่อนเพลี้ยจักจั่นฝ้ายเท่ากับ 83.33 เปอร์เซ็นต์en_US
dc.languageThaen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการen_US
dc.titleชีววิทยาของเพลี้ยจักจั่นฝ้ายและประสิทธิภาพของสารฆ่าแมลงสำหรับการควบคุมในมะเขือม่วงen_US
dc.title.alternativeBiology of Cotton Leafhopper and Efficacy of Insecticides for Controlling in Purple Eggplanten_US
dc.typeบทความวารสารen_US
article.title.sourcetitleวารสารเกษตรen_US
article.volume31en_US
article.stream.affiliationsภาควิชากีฏวิทยาและโรคพืช คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ 50200en_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.