Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64415
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorสรรพสิทธิ แปลงแก้วen_US
dc.contributor.authorมนต์ชัย ดวงจินดาen_US
dc.date.accessioned2019-05-07T10:02:06Z-
dc.date.available2019-05-07T10:02:06Z-
dc.date.issued2558en_US
dc.identifier.issn0857-0842en_US
dc.identifier.urihttp://journal.agri.cmu.ac.th/pdf/J00129_C00971.pdfen_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64415-
dc.descriptionวารสารเกษตร เป็นวารสารวิชาการของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยวารสารจะออกราย 4 เดือน (มกราคม พฤษภาคม และกันยายน) ซึ่งจะพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิชาการสาขา เกษตรศาสตร์ อุตสาหกรรมเกษตร สัตวแพทย์ และชีววิทยา ทั้งจากภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย และปัจจุบันวารสารเกษตรอยู่ในฐานข้อมูลระดับชาติ ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (TCI)en_US
dc.description.abstractการปรับปรุงอายุการใช้งานของแม่สุกรนัน้ มีความสำคัญมากในการผลิตสุกร โดยส่งผลต่อต้นทุนและประสิทธิภาพการผลิตและมีความสัมพันธ์กับการให้ผลผลิตตลอดชั่วชีวิตของแม่สุกร อายุการใช้งานของแม่สุกรเป็นลักษณะที่มีความซับซ้อนสามารถแปลความได้แตกต่างกันไปขึน้ อยู่กับวัตถุประสงค์ในการศึกษา สามารถคัดเลือกได้โดยตรงจากลักษณะ ระยะเวลาการให้ผลผลิตตลอดช่วงชีวิต การให้ผลผลิตตลอดช่วงชีวิตหรือ การคงอยู่หรือไม่อยู่ในฝูงในช่วงที่กำหนด การคัดเลือกโดยอ้อมจากลักษณะที่มีความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมสูง เช่น โครงสร้างของกีบและขาค่าอัตราพันธุกรรมอายุการใช้งานของแม่สุกรอยู่ในช่วงต่ำถึงปานกลาง (0.03-0.27) ในการประเมินคุณค่าการผสมพันธุ์ (estimated breeding value; EBV) ซึ่งสามารถแบ่งการวิเคราะห์ อายุการใช้งานของแม่สุกร ได้ 2 แบบ คือ แบบที่ 1 ลักษณะที่เก็บข้อมูลแบบต่อเนื่อง(continuous traits) เช่น การให้ผลผลิตตลอดช่วงชีวิต โดยใช้การวิเคราะห์ด้วย proportional hazard model หรือ survival แบบที่ 2 ลักษณะที่เก็บข้อมูลแบบ ไบนารี (binary) เช่น การแสดงการคงอยู่หรือไม่อยู่ในฝูงในช่วงที่กำหนด (stayability) การใช้เทคโนโลยีทางด้านอณูพันธุศาสตร์และเครื่องหมายพันธุกรรมมาช่วยในการคัดเลือกลักษณะอายุการใช้งาน โดยมียีนเครื่องหมายที่เกี่ยวข้องกับการอยู่รอดของแม่สุกรเช่น Keratin 8 (KRT8), Fas-associated factor 1 (FAF1) และ Parathyroid hormone type I receptor (PTH1R) ซึ่งมีความสัมพันธ์กับอาการขาอ่อนแอและความหนาแน่นมวลกระดูกจึงมีความเป็นไปได้ในการปรับปรุงพันธุกรรมอายุการใช้งานในแม่สุกร นอกจากนี้ยังต้องให้ความสำคัญการเลี้ยง,การให้อาหารและการจัดการอื่นๆรวมด้วย เพื่อเป็นการช่วยส่งเสริมให้สุกรสามารถแสดงศักยภาพออกมาให้มากที่สุดอีกด้วย ในการตรวจเอกสารครั้งนีมี้วัตถุประสงค์เพื่อรวบรวมปัจจัยที่มีผลกระทบต่ออายุการใช้งานของแม่สุกร เพื่อใช้เป็นแนวทางการปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิตของแม่สุกรต่อไปen_US
dc.languageThaen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการen_US
dc.titleจุดสำคัญในการปรับปรุงอายุการใช้งานและผลผลิตตลอดชั่วอายุของแม่สุกรen_US
dc.title.alternativeKey Points to Improve Sow Longevity and Productive Lifeen_US
dc.typeบทความวารสารen_US
article.title.sourcetitleวารสารเกษตรen_US
article.volume31en_US
article.stream.affiliationsภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นen_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.