Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64405
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorกนกวรรณ คำยอดใจen_US
dc.contributor.authorHäns Bänzigeren_US
dc.contributor.authorจิราพร กุลสารินen_US
dc.date.accessioned2019-05-07T10:02:06Z-
dc.date.available2019-05-07T10:02:06Z-
dc.date.issued2558en_US
dc.identifier.issn0857-0842en_US
dc.identifier.urihttp://journal.agri.cmu.ac.th/content.asp?JID=127&CID=936en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64405-
dc.descriptionวารสารเกษตร เป็นวารสารวิชาการของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยวารสารจะออกราย 4 เดือน (มกราคม พฤษภาคม และกันยายน) ซึ่งจะพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิชาการสาขา เกษตรศาสตร์ อุตสาหกรรมเกษตร สัตวแพทย์ และชีววิทยา ทั้งจากภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย และปัจจุบันวารสารเกษตรอยู่ในฐานข้อมูลระดับชาติ ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (TCI)en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้เป็นจุดเริ่มต้นของความเป็นไปได้ในการใช้สถาปัตยกรรมปากทางเข้ารังของชันโรงTetragonula laeviceps (Smith) species complex ซึ่งเป็นหนึ่งในหลายวิธีการในการศึกษาด้านอนุกรมวิธานเกี่ยวข้องกับชันโรงที่อยู่ในแหล่งอาศัยเดียวกันกับมนุษย์ในประเทศไทย (จังหวัดเชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน นครสวรรค์ ตรัง และสงขลา) และบริเวณมาเลเซียตะวันตก (รัฐ Selangor และรัฐ Malacca) ตัง้ แต่เดือนมีนาคม พ.ศ. 2556 ถึงเดือนมกราคม พ.ศ.2557 บริเวณต้นไม้ที่มีโพรง และอาคารสิ่งก่อสร้างของมนุษย์ในการศึกษาได้บันทึกลักษณะปากทางเข้ารัง รูปภาพ และเก็บตัวอย่างชันโรงจากแต่ละรัง ด้วยสารเอทิลอะซีเตตและอีกส่วนหนึ่งมาแช่ในแอลกอฮอล์ 95 เปอร์เซ็นต์ สำหรับวิเคราะห์ดีเอ็นเอ ในการศึกษาต่อไป การศึกษาครัง้ นีพ้ บรังชันโรงทัง้ หมด 90 รัง ปากทางเข้ารังมีลักษณะแตกต่างกันในด้าน รูปทรง สี และวัสดุที่เป็นองค์ประกอบของรัง สามารถจำแนกได้ 5 รูปแบบ คือ 1. ปากทางเข้ารังเป็นท่อยาวปลายไม่ติดผนัง 2.ปากทางเข้ารังเป็ นท่อยาวติดผนังตลอดแนว 3. ปากทางเข้ารังสัน้ ช่องแคบยาว 4. ปากทางเข้ารังสัน้ รูปทรงกลม สามเหลี่ยม หรือลักษณะใกล้เคียงกันและ 5. ปากทางเข้ารังไม่มีส่วนยื่นออกมาซึ่งในการรวบรวมข้อมูลครั้งนีพบรังรูปแบบที่ 4 จำนวนมากที่สุดและรังรูปแบบที่ 2 พบมีการจู่โจมสูงในทุกพืน้ ที่ที่มีการรวบรวมข้อมูลen_US
dc.languageThaen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการen_US
dc.titleรูปแบบสถาปัตยกรรมปากทางเข้ารังของชันโรง Tetragonula laeviceps (Smith) Species Complex (Hymenoptera: Apidae: Meliponini) ในประเทศไทยและมาเลเซียตะวันตกen_US
dc.title.alternativeNest Entrance Architectural Types of Tetragonula laeviceps (Smith) a Stingless Bee Species Complex (Hymenoptera: Apidae: Meliponini) in Thailand and Peninsular Malaysiaen_US
dc.typeบทความวารสารen_US
article.title.sourcetitleวารสารเกษตรen_US
article.volume31en_US
article.stream.affiliationsสาขาวิชากีฏวิทยา ภาควิชากีฏวิทยาและโรคพืช คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จ.เชียงใหม่ 50200en_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.