Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64394
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorอภาพร โพธิยอดen_US
dc.contributor.authorเกวลิน คุณาศักดากุลen_US
dc.date.accessioned2019-05-07T10:02:05Z-
dc.date.available2019-05-07T10:02:05Z-
dc.date.issued2557en_US
dc.identifier.issn0857-0842en_US
dc.identifier.urihttp://journal.agri.cmu.ac.th/content.asp?JID=126&CID=926en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64394-
dc.descriptionวารสารเกษตร เป็นวารสารวิชาการของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยวารสารจะออกราย 4 เดือน (มกราคม พฤษภาคม และกันยายน) ซึ่งจะพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิชาการสาขา เกษตรศาสตร์ อุตสาหกรรมเกษตร สัตวแพทย์ และชีววิทยา ทั้งจากภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย และปัจจุบันวารสารเกษตรอยู่ในฐานข้อมูลระดับชาติ ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (TCI)en_US
dc.description.abstractจากการนำเชืhอแอกติโนไมซีสต์เอนโดไฟต์ (EA) ที่แยกได้จากพืชวงศ์กุหลาบ (Rosaceae) และพืชสมุนไพรจำนวน 97 ไอโซเลท มาทดสอบประสิทธิภาพในการยับยัง้ การเจริญของเชือ้ รา Phytophthora cactorum สาเหตุโรครากเน่าของสตรอว์เบอร์รีพันธุ์ 329 (Yeal) ด้วยวิธี dual culture พบว่าสามารถคัดเลือกเชือ้ ที่มีประสิทธิภาพการยับยั้งการเจริญเชื้อราสาเหตุในระดับสูงมาก จำนวน 5 ไอโซเลท ได้แก่ ไอโซเลท DUC2, CINv1, FRA19, CINc1 และ POL2 โดยมีเปอร์เซ็นต์การยับยั้งไม่แตกต่างกันทางสถิติเท่ากับ 95.51, 94.38, 93.43, 89.89 และ 88.96 ตามลำดับ และเมื่อนำเชื้อ EAจำนวน 5 ไอโซเลทที่คัดเลือกได้ดังกล่าวมาตรวจสอบการเข้าอาศัยภายในต้นสตรอว์เบอร์รีในสภาพปลอดเชื้อด้วยวิธีการแยกเชื้อกลับ พบว่าเชื้อ EA ทั้ง 5 ไอโซเลท สามารถเข้าอาศัยภายในต้นสตรอว์เบอร์รีได้ โดยไอโซเลท DUC2 เข้าอาศัยภายในต้นสตรอว์เบอร์รีได้มากที่สุด ซึ่งสามารถแยกเชื้อกลับได้เท่ากับ 96 เปอร์เซ็นต์ จากนั้น นำต้นสตรอว์เบอร์รีที่เพาะเลี้ยงในสภาพปลอดเชื้อ และได้รับการปลูกเชื้อEA ที่คัดเลือกได้ทั้ง 5 ไอโซเลท มาทดสอบการชักนำความต้านทานต่อการเกิดโรครากเน่าโดยการหยด oospore แขวนลอยของเชื้อราสาเหตุบริเวณโคนต้นสตรอว์เบอร์รีในสภาพปลอดเชื้อ พบว่าต้นสตรอว์เบอร์รีที่ได้รับการปลูกเชื้อ EA แต่ละไอโซเลท เกิความต้านทานต่อการเกิดโรครากเน่าได้แตกต่างกัน โดยไอโซเลท CINv1 และ FRA19 สามารถชักนำให้พืชเกิดความต้านทานต่อการเกิดโรครากเน่าได้ดีที่สุด ซึ่งลดระดับความรุนแรงของโรครากเน่าได้ไม่แตกต่างกันทางสถิติ เท่ากับ 2.20 และ 2.50 ตามลำดับ แต่แตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติกับชุดควบคุมที่มีระดับรุนแรงของโรครากเน่าเท่ากับ 3.90en_US
dc.languageThaen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการen_US
dc.titleการชักนำให้เกิดความต้านทานโรครากเน่าไฟทอปธอราในสตรอว์เบอร์รีที่เพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อด้วยเชื้อแอกติโนไมซีสต์เอนโดไฟต์en_US
dc.title.alternativeResistant Induction of Phytophthora Root Rot in Strawberry Tissue Culture Plantlets Using Endophytic Actinomycetesen_US
dc.typeบทความวารสารen_US
article.title.sourcetitleวารสารเกษตรen_US
article.volume30en_US
article.stream.affiliationsภาควิชากีฏวิทยาและโรคพืช คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.