Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64386
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorณัฐกานต์ งามแสงฤทธิ์en_US
dc.contributor.authorจิราพร กุลสารินen_US
dc.contributor.authorสิริญา คัมภิโรen_US
dc.contributor.authorเสาวณีย์ อภิญญานุวัฒน์en_US
dc.date.accessioned2019-05-07T10:02:05Z-
dc.date.available2019-05-07T10:02:05Z-
dc.date.issued2557en_US
dc.identifier.issn0857-0842en_US
dc.identifier.urihttp://journal.agri.cmu.ac.th/content.asp?JID=125&CID=921en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64386-
dc.descriptionวารสารเกษตร เป็นวารสารวิชาการของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยวารสารจะออกราย 4 เดือน (มกราคม พฤษภาคม และกันยายน) ซึ่งจะพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิชาการสาขา เกษตรศาสตร์ อุตสาหกรรมเกษตร สัตวแพทย์ และชีววิทยา ทั้งจากภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย และปัจจุบันวารสารเกษตรอยู่ในฐานข้อมูลระดับชาติ ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (TCI)en_US
dc.description.abstractการสำรวจและรวบรวมเพลี้ยไฟในแปลงหม่อนจังหวัดเชียงใหม่ 7 แห่ง พบการระบาดของเพลี้ยไฟในแปลงหม่อนของเกษตรกร อำเภอฝางมากที่สุด เพลี้ยไฟที่เข้าทำลายต้นหม่อนคือเพลี้ยไฟหม่อน Pseudodendrothrips sp. มีจำนวนเฉลี่ย 30 ตัวต่อยอด และเมื่อทำการสำรวจเพลี้ยไฟที่ศูนย์หม่อนไหมเฉลิมพระเกียรติฯ เชียงใหม่ (ส่วนแยกแม่โจ้) ระหว่างเดือนตุลาคม พ.ศ. 2556 ถึง เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557 พบว่าในเดือนกุมภาพันธ์ มีการระบาดของเพลี้ยไฟในปริมาณมาก เฉลี่ย 64.06 ตัวต่อยอด ซึ่งการระบาดของเพลี้ยไฟสร้างความเสียหายต่อใบหม่อน ปัจจุบันมีการใช้เชื้อจุลินทรีย์ที่มีประสิทธิภาพสูงในการป้องกันกำจัดแมลงประเภทปากดูดโดยไม่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม จากการศึกษาเก็บรวบรวมเชื้อราสาเหตุโรคแมลงของเพลี้ยไฟบนต้นหม่อนสามารถจำแนกเชื้อราสาเหตุโรคแมลงได้ 2 ชนิด คือ เชื้อรา Verticillium lecanii จำนวน 4 ไอโซเลท และเชื้อรา Isaria fumosorosea จำนวน 3 ไอโซเลท เมื่อทำการเปรียบเทียบการเจริญเติบโตของเชื้อราสาเหตุโรคแมลง พบว่า I. fumosorosea ทั้ง 3 ไอโซเลทมีการเจริญเติบโตได้ดีกว่า V. Lecanii ทั้งที่เก็บรักษาในอุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส และที่อุณหภูมิห้อง (30 ±0.84 องศาเซลเซียส) โดย I. fumosorosea ไอโซเลท CMU-IsFa 2 มีค่าเฉลี่ยขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางโคโลนีกว้างที่สุดทั้งที่เก็บรักษาในอุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส และที่อุณหภูมิห้อง โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 7.58 และ 7.47 เซนติเมตร ตามลำดับen_US
dc.languageThaen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการen_US
dc.titleการสำรวจเพลี้ยไฟหม่อนและเชื้อราสาเหตุโรคแมลงen_US
dc.title.alternativeSurvey of Mulberry Thrips and Their Entomopathogenic Fungien_US
dc.typeบทความวารสารen_US
article.title.sourcetitleวารสารเกษตรen_US
article.volume30en_US
article.stream.affiliationsสาขาวิชากีฏวิทยา ภาควิชากีฏวิทยาและโรคพืช คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จ.เชียงใหม่ 50200en_US
article.stream.affiliationsศูนย์หม่อนไหมเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ เชียงใหม่ 399 หมู่ 12 ต.หนองควาย อ.หางดง จ.เชียงใหม่ 50230en_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.