Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64298
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorปราณี จันธิมาen_US
dc.contributor.authorสมเกียรติ ศรีธาราธิคุณen_US
dc.date.accessioned2019-05-07T10:02:01Z-
dc.date.available2019-05-07T10:02:01Z-
dc.date.issued2560en_US
dc.identifier.issn0125-0081en_US
dc.identifier.urihttps://www.tci-thaijo.org/index.php/cmunursing/article/view/97857/76237en_US
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/64298-
dc.descriptionวารสารพยาบาลเป็นวารสารทางวิชาการที่เผยแพร่ความรู้ทางการพยาบาลและการผดุงครรภ์ รวมทั้งความรู้ใหม่ในวงการสุขภาพที่เกี่ยวข้องและเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็น และ ประสบการณ์เกี่ยวกับวิชาชีพการพยาบาลอีกทั้งเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้ร่วมวิชาชีพและภาพลักษณ์ของวิชาชีพการพยาบาล จัดทำโดย สมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ กำหนดออกปีละ 4 ฉบับen_US
dc.description.abstractภาวะอ้วนลงพุงเป็นสาเหตุของโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง รอบเอวที่เพิ่มขึ้นทุกๆ 5 เซนติเมตร จะเพิ่มโอกาสเกิดโรคเบาหวานได้ 3-5 เท่า ก่อให้เกิดผลกระทบทั้งร่างกาย จิตใจ สังคม และเศรษฐกิจ การวิจัยนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลองเพื่อศึกษาพฤติกรรมการดูแลสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงโรคอ้วนลงพุงต่อขนาดของรอบเอว โดยการให้ความรู้และสนับสนุนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มเสี่ยงโรคอ้วนลงพุงตามแนวคิดการจัดการตนเอง ประกอบด้วยการดูแลเรื่องอาหาร การออกกำลังกาย การดูแลอารมณ์ การงดสุราและสารเสพติด กลุ่มตัวอย่างคือกลุ่มเสี่ยงอ้วนลงพุงอายุ 45-55 ปีจำนวน 30 คนได้มาจากการสุ่มแบบเฉพาะเจาะจง ใช้ระยะเวลาในดำเนินการวิจัย 12 สัปดาห์ วัดและประเมินผลแบบกลุ่มเดียว โดยวัดก่อนและหลังการทดลอง เครื่องมือที่ใช้ประกอบด้วย แบบประเมินสุขภาพ แบบประเมินพฤติกรรมการกิน การออกกำลังกาย การดื่มสุรา และสูบบุหรี่ ของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติร้อยละ พิสัย ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติทดสอบค่าเฉลี่ยของประชากร 2 กลุ่มสัมพันธ์กัน ผลการศึกษาพบว่าผู้เข้าร่วมวิจัย มีค่าเฉลี่ยของน้ำหนักลดลง 2.30 กิโลกรัม ค่าเฉลี่ยดัชนีมวลกายที่ลดลง 0.87 กิโลกรัม/ตารางเมตร และมีระดับความรู้เกี่ยวกับภาวะอ้วนลงพุง การจัดการตนเองเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (<0.001) ผลของการศึกษานี้สามารถนำไปใช้ในกลุ่มเสี่ยงอ้วนลงพุงหรือผู้ป่วยที่ไม่สามารถควบคุมโรคที่เกี่ยวกับเมตาบอลิกได้โดยบริโภคอาหารอย่างเหมาะสมen_US
dc.languageThaen_US
dc.publisherคณะพยาบาลศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleผลของการสนับสนุนการจัดการตนเองต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ในกลุ่มเสี่ยงโรคอ้วนลงพุงen_US
dc.title.alternativeThe Effect of Promoting Self-management for Health BehaviorModification of Metabolic Syndrome Risk Groupen_US
dc.typeบทความวารสารen_US
article.title.sourcetitleพยาบาลสารen_US
article.volume44en_US
article.stream.affiliationsคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
Appears in Collections:CMUL: Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.