Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/48643
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อ.ดร.พนม กุณาวงค์ | - |
dc.contributor.author | จนัญญา บุญเรือง | en_US |
dc.date.accessioned | 2018-05-09T04:24:41Z | - |
dc.date.available | 2018-05-09T04:24:41Z | - |
dc.date.issued | 2015-08 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/48643 | - |
dc.description.abstract | This study aimed at comparing the internet banking service usage between Government Savings Bank and Kasikorn Bank in Mueang District, Chiang Mai province. The framework of this study was derived from three main theories which were the Theory of Acceptance and Use of Technology (UTAUT), the Technology Acceptance Model (TAM), and task-technology fit (TTF). There were 760 samples in this study. Results found that Kasikorn Bank had higher total average of acceptance level for internet banking technology usage than the Government Savings Bank in all 7 aspects: social influence, influences towards acceptance and usability, attitudes relating to the usage, suitability between work and technology, differences of technology system, expectation towards efficiency, and triple lock security system. 24542752181860จ 020000จIn terms of recommendations for this study, Government Savings Bank should develop its internet banking services system by giving importance to the following aspects: provide more stable technology system, improve the system with various abilities for use, and build the bank image to be modern in terms of information technology usage. For Kasikorn Bank, it should continue keeping the standard level of quality on internet banking services. Internet banking services should also be expanded to support more modern technology. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | การศึกษาเปรียบเทียบการใช้บริการอินเทอร์เน็ตแบงก์กิ้งระหว่างธนาคารออมสิน กับ ธนาคาร กสิกรไทย ในอำเภอเมืองเชียงใหม่ | en_US |
dc.title.alternative | A Comparative Study of Using Internet Banking Services Between Government Savings Bank and Kasikorn Bank in Mueang Chiang Mai District | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | ในการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาเปรียบเทียบการใช้บริการอินเทอร์เน็ตแบงก์กิ้งระหว่างธนาคารออมสิน กับ ธนาคารกสิกรไทย ในอำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ สำหรับกรอบแนวคิดที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ได้นำมาจาก 3 ทฤษฏีหลักดังนี้ ทฤฏีการยอมรับและการใช้เทคโนโลยี (UTAUT) ทฤษฏีการยอมรับและการใช้เทคโนโลยี (TAM) และทฤษฏีความเหมาะสมระหว่างงานและเทคโนโลยี (TTF) ส่วนกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ มีจำนวนทั้งสิ้น 760 คน ผลการศึกษาพบว่าธนาคารกสิกรไทย มีค่าเฉลี่ยรวมของระดับการยอมรับการใช้เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตแบงก์กิ้ง สูงกว่าธนาคารออมสิน ทั้ง 7 ด้าน อันได้แก่ ด้านอิทธิพลทางสังคม ด้านอิทธิพลต่อการยอมรับและการใช้งาน ด้านทัศนคติที่เกี่ยวข้องกับการใช้งาน ด้านความเหมาะสมระหว่างงานและเทคโนโลยี ด้านความแตกต่างของระบบเทคโนโลยี ด้านความคาดหวังในประสิทธิภาพ และด้านระบบความปลอดภัยชั้นสูง สำหรับข้อเสนอแนะในการวิจัยครั้งนี้มีข้อเสนอแนะคือ ธนาคารออมสินควรพัฒนาระบบการใช้บริการอินเทอร์เน็ตแบงก์กิ้ง โดยให้ความสำคัญในด้านต่างๆได้แก่ การพัฒนาระบบเทคโนโลยีให้มีความเสถียรมากยิ่งขึ้น การพัฒนาระบบความสามารถในการใช้งานให้มีความหลากหลายและสร้างภาพลักษณ์ของธนาคารให้ทันสมัยทางด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ สำหรับธนากสิกรไทยนั้นควรรักษาคุณภาพบริการอินเทอร์เน็ตแบงก์กิ้งให้อยู่ในระดับมาตราฐานที่เป็นอยู่ในขณะนี้ต่อไป อีกทั้งควรขยายการให้บริการอินเทอร์เน็ตแบงก์กิ้งเพื่อรองรับเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาก 2397125309245ง 020000ง | en_US |
Appears in Collections: | POL: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
ABSTRACT.docx | Abstract (words) | 181.85 kB | Microsoft Word XML | View/Open Request a copy |
ABSTRACT.pdf | Abstract | 235.86 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
FULL.pdf | Full IS | 5.01 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.