Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/48617
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศิริพงษ์ ลดาวัลย์ ณ อยุธยา-
dc.contributor.authorพิเชฐ ทองคำen_US
dc.date.accessioned2018-05-02T04:11:07Z-
dc.date.available2018-05-02T04:11:07Z-
dc.date.issued2558-09-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/48617-
dc.description.abstractThe purposes of this independent study were 1) to evaluate the results of the implementation of Government Savings Bank’s School Bank Project in Mueang Chiang Mai district 2) to investigate problems and obstacles of the implementation of Government Savings Bank’s School Bank Project in Mueang Chiang Mai district 3) to survey the recommendations and improvement guidelines of the implementation of Government Savings Bank’s School Bank Project from the student members, project advisers, and guardians of the student members; and 4) to survey the image in perspective of the student members, project advisers, and guardians of the student members regarding the corporate social responsibility implementation of Government Savings Bank through the School Bank Project by using questionnaires for a representative sample of 398 people and interviewing 11 School Bank Project advisers in Mueang Chiang Mai district. The results of the study show that the implementation of Government Savings Bank’s School Bank Project in Mueang Chiang Mai district accomplished five aspects of its objectives ( = 3.47, S.D. = 0.689). The Student members and the School Bank Project advisers considered that the School Bank Project helped the student members to have instilled savings discipline; helped them to enhance their skills ( = 3.49), provided experience and benefits about work process and team spirit ( = 3.51) ; taught them to use the time wisely ( = 3.31) ; encouraged bank engagement, built a good relationship between the bank, school and students ( = 3.52) ; and also encouraged a good image of the Government Savings Bank through corporate social responsibility ( = 3.50). The problems of the study were problems of irregular saving, problems of service period, problems of student training, and problems of student project participation. It was suggested that Government Savings Bank should allocate a higher budget to support this project, provide more appropriate equipment, provide more training for the students every year and increase coordination efficiency with Government Savings Bank.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectธนาคารโรงเรียนen_US
dc.subjectธนาคารออมสินen_US
dc.titleผลการดำเนินโครงการธนาคารโรงเรียนของธนาคารออมสินในเขตพื้นที่อำเภอเมืองเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeResult of the Implementation of Government Savings Bank’s School Bank Project in Mueang Chiang Mai Districten_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.classification.ddc658.306-
thailis.controlvocab.thashธนาคารออมสิน -- เชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashการประเมินผลงาน-
thailis.controlvocab.thashการวิเคราะห์งาน-
thailis.manuscript.callnumberว/ภน 658.306 พ352ผ-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการค้นคว้าแบบอิสระนี้ มีวัตถุประสงค์ 4 ประการ คือ 1.) เพื่อประเมินผลการดำเนินงานโครงการธนาคารโรงเรียนของธนาคารออมสินในเขตพื้นที่อำเภอเมืองเชียงใหม่ 2.) เพื่อศึกษาปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการธนาคารโรงเรียนในเขตพื้นที่อำเภอเมืองเชียงใหม่ 3.) เพื่อสำรวจข้อเสนอแนะ แนวทางการปรับปรุงกิจกรรมโครงการธนาคารโรงเรียนของธนาคารออมสินจากนักเรียนสมาชิกโครงการ อาจารย์ที่ปรึกษา และผู้ปกครองของนักเรียนสมาชิก และ 4.) เพื่อสำรวจภาพลักษณ์ของธนาคารในมุมมองของนักเรียน อาจารย์ที่ปรึกษา และผู้ปกครองนักเรียนสมาชิกที่มีต่อธนาคารออมสิน ในการดำเนินกิจกรรมรับผิดชอบต่อสังคมผ่านกิจกรรมโครงการธนาคารโรงเรียนโดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูลกับกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 398 คน และสัมภาษณ์ เชิงลึกอาจารย์ที่ปรึกษาโครงการธนาคารโรงเรียนของธนาคารออมสินประจำสถาบัน จำนวน 11 คน ผลการศึกษาพบว่า ผลการดำเนินโครงการธนาคารโรงเรียนของธนาคารออมสินในเขตพื้นที่อำเภอเมืองเชียงใหม่ บรรลุตามวัตถุประสงค์ที่ถูกกำหนดไว้ทั้ง 5 ด้าน ( =3.47, S.D. = 0.689) นักเรียน และอาจารย์ที่ปรึกษาโครงการธนาคารโรงเรียน เห็นว่า โครงการเป็นประโยชน์ในการ เพาะบ่มลักษณะนิสัย และเห็นคุณค่าความสำคัญการประหยัดอดออม ( = 3.49) นักเรียนผู้ปฏิบัติงานได้รับโอกาสในการฝึกทักษะด้านการทำงาน ( = 3.51) ใช้เวลาว่างเพื่ออุทิศตนทำประโยชน์ ( = 3.31) สามารถสร้างความผูกพัน สร้างสัมพันธ์อันดีระหว่างธนาคาร โรงเรียน และนักเรียน ( = 3.52) ทั้งยังส่งเสริมภาพลักษณ์ที่ดีของธนาคารด้านความรับผิดชอบต่อสังคมเป็นธนาคาร เพื่อการออมได้มากขึ้น ( = 3.50) ข้อปัญหาที่พบจากการศึกษา คือ ความสม่ำเสมอในการออมเงินของนักเรียน ปัญหาด้านเวลาการให้บริการ ปัญหาการฝึกอบรมนักเรียนผู้ปฏิบัติงานให้มีความรู้ความชำนาญ และปัญหา ความร่วมมือจากนักเรียนในการเข้าร่วมโครงการเพิ่มเติม ข้อเสนอแนะ คือ ควรจัดงบประมาณ ในการสนับสนุนโครงการมากขึ้น สนับสนุนครุภัณฑ์อย่างเหมาะสม ควรจัดการฝึกอบรมนักเรียนผู้ปฏิบัติงานทุกปี และเพิ่มประสิทธิภาพการประสานงานกับธนาคารออมสินen_US
Appears in Collections:POL: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Abstract.docAbstract (words)634 kBMicrosoft WordView/Open    Request a copy
ABSTRACT.pdfAbstract 180.66 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
FULL.pdfFull IS3.72 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.