Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/48612
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ยงยุทธ ยะบุญธง | - |
dc.contributor.advisor | ชูชีพ พุทธประเสริฐ | - |
dc.contributor.author | บวร จันทร์ธีระโรจน์ | en_US |
dc.date.accessioned | 2018-05-02T04:03:35Z | - |
dc.date.available | 2018-05-02T04:03:35Z | - |
dc.date.issued | 2558-08 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/48612 | - |
dc.description.abstract | This independent study aimed to 1) study the conditions and problems of promotional desired characteristics operations of Paiwittayakarn school students, Mae Hong Son province 2) study the developmental guidelines for promotional desired characteristics operations of Paiwittayakarn school students, Mae Hong Son province. The procedures were included 3 steps. 1) The study of conditions and problems of promotional desired characteristics operations ; the population was directors, teachers, and school boards. The instrument was a questionnaire analyzed by mean and standard deviation. 2) The study and drafting guidelines for promotional desired characteristics operations ; the population was management directors of 6 management excellent schools concerning promotional desired characteristics of student and 5 teachers who had outstanding performance, and gotten Nation Award of promotional Desired Characteristics of student and working on this field. The instrument was an interview and the data was analyzed by induction. 3) The verification of Guidelines for Development of Operations to Promote Desirable Characteristics of Student in Paiwittayakarn School, Mae Hong Son Province; the population used was 5 specialists of Desirable Characteristics of Student. The instrument was a checking form concerning possibility, suitability, and usefulness of guidelines. The data was analyzed by mean and standard deviation. The study found that the conditions of promotional desired characteristics operations in Paiwittayakarn School, Mae Hong Son concerning 7 procedures as 1) Learning the desired characteristics according to the Basic Education Core Curriculum, indicators’ definition, performance point and criteria. 2) Studying theory about the principles of promotional desired characteristics. 3) Observing how to take action on students development activities. 4) Checking students’ background before building up. 5) Producing or selecting proper tools for the action. 6) Improving and evaluating learners by conducting lessons in learning units of students’ activities, projects or in real life. 7) Reporting the results, showed that the performance was rated at the medium level. The significant problems mentioned to directors, teachers and participants who had less awareness of those desired characteristics. Therefore, the guidelines for promotional desired characteristics operations of students ; should set the committees for working on desired characteristics development and evaluation. Their duty was planning, studying techniques from successful schools in this field and adapting those methods, meeting and discussing for better understanding, increasing the awareness and encouraging teachers to build up the desired characteristics development by using varieties of techniques, studying students’ background, selecting to use suitable materials, designing an information system for assessment and evaluation, determining how to report desired characteristics evaluation result, monitoring teachers and cheering them. The outcome of verification of Guidelines for Development of Operations to Promote Desirable Characteristics of Student in Paiwittayakarn School, Mae Hong Son Province concerning possibility, suitability, and usefulness found that was rated at the high level. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | คุณลักษณะอันพึงประสงค์ | en_US |
dc.subject | โรงเรียนปายวิทยาคาร | en_US |
dc.subject | นักเรียน | en_US |
dc.title | แนวทางการพัฒนาการดำเนินงานสร้างเสริมคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ของนักเรียนโรงเรียนปายวิทยาคาร จังหวัดแม่ฮ่องสอน | en_US |
dc.title.alternative | Guidelines for Development of Operations to Promote Desirable Characteristics of Student in Paiwittayakarn School, Mae Hong Son Province | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thailis.classification.ddc | 373 | - |
thailis.controlvocab.thash | โรงเรียนปายวิทยาคาร | - |
thailis.controlvocab.thash | การศึกษาขั้นมัธยม | - |
thailis.controlvocab.thash | โรงเรียนมัธยมศึกษา -- ปาย (แม่ฮ่องสอน) | - |
thailis.manuscript.callnumber | ว/ภน 373 บ177น | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การค้นคว้าแบบอิสระนี้ มีวัตถุประสงค์ 2 ข้อ คือ 1) เพื่อศึกษาสภาพและปัญหาการดำเนินงานสร้างเสริมคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียนโรงเรียนปายวิทยาคาร จังหวัดแม่ฮ่องสอนและ 2) เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาการดำเนินงานสร้างเสริมคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียนโรงเรียนปายวิทยาคาร จังหวัดแม่ฮ่องสอน มีขั้นตอนการศึกษา 3 ขั้นตอน คือ 1) การศึกษาสภาพ และปัญหาการดำเนินงานสร้างเสริมคุณลักษณะอันพึงประสงค์ประชากรคือผู้บริหารสถานศึกษา ครู และคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน เครื่องมือที่ใช้คือ แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน2) การศึกษาและร่างแนวทางการพัฒนาการดำเนินงานสร้างเสริมคุณลักษณะอันพึงประสงค์ประชากรคือ ผู้บริหารสถานศึกษาโรงเรียนที่เป็นเลิศในการบริหารได้รับรางวัลในระดับชาติที่เกี่ยวข้องกับคุณลักษณะอันพึงประสงค์ จำนวน 6 โรงเรียนและครูที่มีผลงานหรือได้รับรางวัลดีเด่นในระดับชาติที่เกี่ยวข้องกับคุณลักษณะอันพึงประสงค์ จำนวน5 คนเครื่องมือการศึกษา คือแบบสัมภาษณ์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการสรุปอุปนัย3) การตรวจสอบแนวทางการบริหารคุณภาพ ประชากรที่ใช้เลือกแบบเจาะจงตามเกณฑ์จำนวน 5 คน เครื่องมือคือ แบบตรวจสอบ ความเป็นไปได้ ความเหมาะสม และความเป็นประโยชน์วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษา พบว่า สภาพการดำเนินงานสร้างเสริมคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียนโรงเรียนปายวิทยาคาร จังหวัดแม่ฮ่องสอน ทั้ง 7 ขั้นตอน คือ 1) ศึกษาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน นิยามตัวชี้วัด พฤติกรรมบ่งชี้ และเกณฑ์การให้คะแนน 2) ศึกษาแนวคิดทฤษฎี หลักการที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 3)ศึกษาแนวปฏิบัติในการพัฒนาผู้เรียน 4) ศึกษาข้อมูลพื้นฐานของผู้เรียนก่อนการพัฒนา 5) สร้างหรือเลือกเครื่องมือที่เหมาะสมกับแนวปฏิบัติ 6) ดำเนินการพัฒนาและประเมินผู้เรียนโดยการบูรณาการในหน่วยการเรียนรู้ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนโครงการ สอดแทรกในชีวิตประจำวันและ 7) รายงานผลการพัฒนาพบว่ามีการปฏิบัติ / เป็นจริงโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง ปัญหาที่สำคัญคือ ผู้บริหารสถานศึกษา ครู และผู้เกี่ยวข้อง ให้ความสำคัญในการสร้างเสริมคุณลักษะอันพึงประสงค์น้อย สำหรับแนวทางการพัฒนาการดำเนินงานสร้างเสริมคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียนควรแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานพัฒนาและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ มีหน้าที่โดยตรงในการวางแผนการดำเนินงาน ศึกษาเทคนิควิธีการในการสร้างเสริมคุณลักษณะอันพึงประสงค์โรงเรียนที่ประสบความสำเร็จ แล้วนำเทคนิค วิธีการมาปรับใช้จัดประชุมชี้แจงทำความเข้าใจสร้างความตระหนักและส่งเสริมให้ครูพัฒนาการดำเนินการสร้างเสริมคุณลักษณะอันพึงประสงค์ให้กับผู้เรียน โดยใช้วิธีการที่หลากหลายศึกษาข้อมูลนักเรียนก่อนการพัฒนาสร้างหรือเลือกเครื่องมือที่เหมาะสมในการพัฒนา จัดทำระบบสารสนเทศเกี่ยวกับการวัดและประเมินผลกำหนดวิธีการรายงานผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ให้ชัดเจน นิเทศติดตามให้ความช่วยเหลือครูสร้างขวัญและกำลังใจให้ครู ส่วนผลการตรวจสอบความเป็นไปได้ ความเหมาะสม และความเป็นประโยชน์ ของแนวทาง การพัฒนาการดำเนินงานสร้างเสริมคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียนโรงเรียนปายวิทยาคาร จังหวัดแม่ฮ่องสอนพบว่า โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด | en_US |
Appears in Collections: | EDU: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
2ABSTRACT.docx | Abstract (words) | 183.98 kB | Microsoft Word XML | View/Open Request a copy |
ABSTRACT.pdf | Abstract | 317.39 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
FULL.pdf | Full IS | 4.44 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.