Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/48602
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorภราดร สุรีย์พงษ์-
dc.contributor.authorวรพล จารุวัฒนกุลen_US
dc.date.accessioned2018-05-02T02:32:45Z-
dc.date.available2018-05-02T02:32:45Z-
dc.date.issued2558-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/48602-
dc.description.abstractThis is an independent study that is aimed on developing a technical project management services for small enterprises that are leveraging the cloud for use in a technical project management services for government organizations. The requirements analysis was obtained from the existing processes of the project agency management and software project management. The agency has found that the sector in project management is unlike any other project management in general. The study also proposes some solutions. The project management, along with the government, should be led by cloud computing technology as the core architecture of the system. The system should be available as a web application which is composed of five modules - the module assignments, modules built and approving the outline of the project, a module to create and track the project, a module that has project activities, and a resource management module The system has various tools for usage, such as a Google Apps Scripts, Google spreadsheet, Google Drive, and Google Calendar. The system is developed under the ISO29110 VSE software development standards in system quality. In order to meet the needs of the users on a practical basis, there is also a global standard that includes a necessary modeling software development, known as Agile Model,. The results of the test and evaluation demonstrated a user satisfaction with the environment. Overall, the average value was good. Users were satisfied with the system’s great contribution especially in supporting the academic program management agency. The system also facilitates the project staff and those involved in tracking the progress of the project as well.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectระบบบริหารจัดการen_US
dc.subjectการบริการวิชาการen_US
dc.subjectสถาปัตยกรรมแบบกลุ่มเมฆen_US
dc.titleระบบบริหารจัดการโครงการบริการวิชาการสำหรับองค์กรขนาดเล็กบนสถาปัตยกรรมแบบกลุ่มเมฆen_US
dc.title.alternativeProject Management System for Small Academic Service Organization on Cloud Architectureen_US
dc.typeIndependent Study (IS)-
thailis.classification.ddc004.6782-
thailis.controlvocab.thashคลาวด์คอมพิวติง-
thailis.controlvocab.thashบริการสารสนเทศแบบออนไลน์-
thailis.controlvocab.thashฐานข้อมูลแบบออนไลน์-
thailis.manuscript.callnumberว 004.6782 ว176ร-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการค้นคว้าแบบอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาระบบบริหารจัดการโครงการบริการวิชาการสำหรับองค์กรขนาดเล็กบนสถาปัตยกรรมแบบกลุ่มเมฆเพื่อใช้ในการบริหารจัดการโครงการบริการวิชาการสำหรับองค์กรภาครัฐ จากการวิเคราะห์ความต้องการ ปัญหา กระบวนการบริหารโครงการของหน่วยงาน และซอฟต์แวร์สำหรับการบริหารโครงการที่ใช้อยู่เดิม พบว่าหน่วยงานมีลักษณะการบริหารโครงการแบบภาครัฐ ซึ่งแตกต่างจากการบริหารโครงการโดยทั่วไป ดังนั้นการค้นคว้าอิสระนี้จึงได้นำเสนอแนวทางการแก้ไขปัญหา ด้วยระบบบริหารจัดการโครงการแบบภาครัฐโดยนำเทคโนโลยีการประมวลผลแบบกลุ่มเมฆมาใช้เป็นสถาปัตยกรรมหลักของระบบ โดยระบบจะเป็นเว็บแอพพลิชัน (Web Application) ประกอบไปด้วย 5 โมดูลดังนี้ โมดูลมอบหมายงาน โมดูลการสร้างและอนุมัติโครงร่างโครงการ โมดูลการสร้างและติดตามโครงการ โมดูลการกำหนดกิจกรรมโครงการ และโมดูลการบริหารจัดการทรัพยากร การพัฒนาระบบ ได้นำเครื่องมือต่างๆมาใช้ได้แก่ กูเกิลแอพสคริป (Google Apps Script) กูเกิลสเปรดชีต (Google Spreadsheet) กูเกิลไดรฟ์ (Google Drive) และ กูเกิล คาเลนดาร์ (Google Calendar) เป็นต้น ระบบพัฒนาภายใต้มาตรฐานการพัฒนาซอฟต์แวร์ ISO29110 VSE เพื่อให้ระบบมีคุณภาพ และเป็นมาตรฐานสากล รวมไปถึงการใช้แบบจำลองการพัฒนาซอฟต์แวร์แบบเอจายล์ (Agile Model) เพื่อให้ระบบตรงตามความต้องการของผู้ใช้งานและสามารถนำไปใช้งานได้จริง จากผลการทดสอบและประเมินผลความพึงพอใจจากการใช้งานระบบด้วยสภาพแวดล้อมจริงพบว่ามีค่าเฉลี่ยอยู่ในเกณฑ์ที่ดี ผู้ใช้งานระบบโดยส่วยใหญ่มีความพึงพอใจต่อระบบ ที่สามารถช่วยสนับสนุนการบริหารจัดการโครงการบริการวิชาการของหน่วยงานเป็นอย่างดี อีกทั้งยังอำนวยความสะดวกแก่เจ้าหน้าที่โครงการและผู้ที่เกี่ยวข้องในการติดตามความก้าวหน้าของโครงการได้เป็นอย่างดีen_US
Appears in Collections:CAMT: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.docxAbstract (words)178.61 kBMicrosoft Word XMLView/Open
ABSTRACT.pdfAbstract175.55 kBAdobe PDFView/Open
FULL.pdfFull IS2.91 MBAdobe PDFView/Open


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.