Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/48601
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกาญจนา เกียรติมณีรัตน์-
dc.contributor.authorธนวัฒน์ ยวงสุวรรณen_US
dc.date.accessioned2018-05-02T02:28:16Z-
dc.date.available2018-05-02T02:28:16Z-
dc.date.issued2558-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/48601-
dc.description.abstractThe purpose of this study is searching for way to Thai Lue’s Textile Development Guidelines, Ban Mae Sap, Samoeng District, Chiang Mai Province Information Was given by 5 village leads and 10 elder in the village who has more than 30 years’ experience of wearing. All data by interview and present by the description. Result of study showed that the history of Thai Lue’s Textile Development Guidelines, Ban Mae Sap, Samoeng District, Chiang Mai Province is from the union of weaving in the past. The group was established in 1999, then the group has joined “One Tumbon, One Product” project and get 2 stars level. The Thai Lue tracery has the inspiration from nature, surrounding and belief in Buddhism. Product will be sold in the local market. The income will be collected for other use in group and Share to member. Afterward, the group get help from government organization such as the Community Development Dept, Samoeng pittayakhom school, the District cultural center and the province Cultural Center to promote product at “Wieng Ta Karn” The way to Thai Lue’s Textile Development Guidelines, Ban Mae Sap, Samoeng District, Chiang Mai Province.To develop Thai Luawearing, ThaiLue’s people should produce a various product and up to date with the market place, the package should be more modern and attract. The government organization must usually give suggestion and more help. Moreover, ThaiLue’s people should go other place for new idea, attentiveness to develop their career permanently. 25565101299765จ 00จen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectการพัฒนาอาชีพen_US
dc.subjectการทอผ้าen_US
dc.subjectไทลื้อen_US
dc.titleแนวทางการพัฒนาอาชีพทอผ้าของชาวไทลื้อ บ้านแม่สาบ อำเภอสะเมิง จังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeThai Lue’s Textile Development Guidelines, Ban Mae Sap, Samoeng District, Chiang Mai Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.classification.ddc338.642-
thailis.controlvocab.thashการทอผ้า -- สะเมิง (เชียงใหม่)-
thailis.controlvocab.thashธุรกิจชุมชน -- สะเมิง (เชียงใหม่)-
thailis.controlvocab.thashบ้านแม่สาบ (เชียงใหม่)-
thailis.manuscript.callnumberว/ภน 338.642 ธ157น-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาอาชีพทอผ้าของชาวไทลื้อ บ้านแม่สาบ อำเภอสะเมิง จังหวัดเชียงใหม่ กลุ่มผู้ให้ข้อมูล คือ ผู้นำหมู่บ้าน บ้านแม่สาบ อำเภอสะเมิง จังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 1 คน และผู้อาวุโสที่มีความรู้ความชำนาญในการทอผ้าไทลื้อมากกว่า 30 ปี จำนวน 10 คน โดยมีเครื่องมือในการเก็บข้อมูล คือ การสัมภาษณ์ แล้วนำเสนอผลการวิเคราะห์ในเชิงพรรณนา ผลการศึกษา พบว่า วิถีชีวิตและความเป็นมาของกลุ่มทอผ้าของชาวไทลื้อบ้านแม่สาบ อำเภอสะเมิง จังหวัดเชียงใหม่ เกิดจากการรวมกลุ่มอาชีพการทอผ้าทอไทลื้อที่สืบทอดกันมาจากบรรพบุรุษ ได้ก่อตั้งกลุ่มเมื่อปี พ.ศ. 2542 ต่อมาผ้าทอไทลื้อได้เข้าร่วมโครงการหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ในรับดับ 2 ดาวโดยการทอผ้าทอไทลื้อจะเป็นลายขิดที่สืบทอดกันมาหลายชั่วอายุคน มีลวดลายและแรงบันดาลใจมาจากธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และเกิดจากความเชื่อถือในพระพุธศาสนา เมื่อได้ผลผลิตมาก็จะนำไปฝากขายที่บ้านของสมาชิกในกลุ่ม เพื่อนำไปจัดจำหน่าย หรือมีการออกร้านผลิตภัณฑ์ผ้าทอไทลื้อเพื่อเผยแพร่ผลิตภัณฑ์ผ้าทอไทลื้ออีกด้วย รายได้ที่ได้จากการจัดจำหน่ายจะนำมาแบ่งกันและเก็บเข้ากลุ่มเพื่อใช้ในกิจกรรมอื่นๆ ต่อไป ต่อมาได้มีหน่วยงานราชการที่เข้ามาสนับสนุนกลุ่มทอผ้าบ้านแม่สาบ อำเภอเมืองจังหวัดเชียงใหม่ คือ กรมพัฒนาชุมชน อำเภอสะเมิง จังหวัดเชียงใหม่ โรงเรียนสะเมิงพิทยาคม ศูนย์วัฒนธรรมอำเภอสะเมิง และศูนย์วัฒนธรรมจังหวัดเชียงใหม่ ได้เข้ามาช่วยและได้เข้ามาสนับสนุนเกี่ยวกับงานบริหาร การจัดการ การส่งเสริมการตลาด การประชาสัมพันธ์ของกลุ่มผ้าทอแนวทางการพัฒนาอาชีพทอผ้าของชาวไทลื้อบ้านแม่สาบ อำเภอสะเมิง จังหวัดเชียงใหม่ คือ การพัฒนาอาชีพทอผ้าของชาวไทลื้อต้องการให้มีการพัฒนาทางด้านผลิตภัณฑ์ที่หลากหลายและทันสมัยตามความต้อการของตลาด จะพัฒนาบรรจุภัณฑ์ให้มีความสวยงามมากยิ่งขึ้น โดยให้หน่วยงานทางราชการที่เกี่ยวข้องเข้าช่วยเหลืออย่างสม่ำเสมอและสมาชิกควรไปศึกษาดูงานเกี่ยวกับผ้าทอไทลื้อในพื้นที่อื่นๆ เพื่อให้เกิดการตื่นตัว และจะนำไปสู่การพัฒนาอาชีพอย่างมั่นคงยิ่งขึ้นen_US
Appears in Collections:ECON: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.docxAbstract176.28 kBMicrosoft Word XMLView/Open
ABSTRACT.pdfAbstract234.98 kBAdobe PDFView/Open
FULL.pdfFull IS5.01 MBAdobe PDFView/Open


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.