Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/48598
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรองศาสตราจารย์ ดร.จารุณี มณีกุล-
dc.contributor.advisorรองศาสตราจารย์ ดร.ชรินทร์ มั่งคั่ง-
dc.contributor.authorนิรชญาวรรณ มีณรงค์en_US
dc.date.accessioned2018-05-02T02:16:42Z-
dc.date.available2018-05-02T02:16:42Z-
dc.date.issued2015-06-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/48598-
dc.description.abstractThis study aimed to develop supplementary books with Local wisdom of Lanna to develop critical thinking skills, Grade 4 students at Banrai in Chiang Mai Province aad to evaluate the books Sample were 5 experts Instruments are three books of local wisdom of Lanna, and the evaluation form of the books. Data were analyzed by means and standard deviation. The findings were as follows; 1. Three books of local wisdom of Lanna were Nok Por Hey, Sue Yen and Phra Ya Maa Kre Reun. Which were Lanna Folklores 2. The evaluations of the books were appropriate for development of analytical thinking. in the good level.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการพัฒนาหนังสือเสริมประสบการณ์ภูมิปัญญาพื้นบ้านล้านนา เพื่อพัฒนาการคิดวิเคราะห์ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4โรงเรียนบ้านไร่ จังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeDevelopment of Supplementary Books in Lanna Local Wisdom to Develop Analytical Thinking Skill for Prathom Suksa 4 Students, Banrai School, Chiang Mai Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนา และเพื่อประเมินคุณภาพหนังสือเสริมประสบการณ์ภูมิปัญญาพื้นบ้านล้านนา เพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนบ้านไร่ จังหวัดเชียงใหม่ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา คือ ผู้เชี่ยวชาญที่ทำหน้าที่ประเมินหนังสือเสริมประสบการณ์ภูมิปัญญาพื้นบ้านล้านนาและทำหน้าที่สนทนากลุ่ม จำนวน 5 ท่าน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา คือหนังสือเสริมประสบการณ์ภูมิปัญญาพื้นบ้านล้านนา จำนวน 3 เรื่อง และแบบประเมินคุณภาพหนังสือเสริมประสบการณ์ภูมิปัญญาพื้นบ้านล้านนา เพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ จำนวน 24 ข้อ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการศึกษาพบว่า ได้หนังสือเสริมประสบการณ์ภูมิปัญญาพื้นบ้านล้านนา เพื่อพัฒนาทักษะการ คิดวิเคราะห์ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนบ้านไร่ จังหวัดเชียงใหม่ มีจำนวน 3 เรื่อง ได้แก่ 1. นิทานพื้นบ้านล้านนาเรื่องนกพ่อเฮย 2. นิทานพื้นบ้านล้านนาเรื่องเสือเย็น 3.นิทานพื้นบ้านล้านนาเรื่องพญาหมาขี้เรื้อน 2. ผลการประเมินคุณภาพของหนังสือซึ่งมีความเหมาะสมระดับมากในการพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ แบบประเมินท้ายเรื่องมีความสอดคล้องกับเนื้อหาของเรื่อง โดยรวม 4 ด้าน หนังสือเสริมประสบการณ์ภูมิปัญญาพื้นบ้านล้านนามีกิจกรรมที่สามารถพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์มีคุณภาพระดับมากen_US
Appears in Collections:EDU: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.docxAbstract (words)52.09 kBMicrosoft Word XMLView/Open    Request a copy
ABSTRACT.pdfAbstract218.1 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
FULL.pdfFull IS5.86 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.