Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/48597
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรองศาสตราจารย์ ดร.กัญญา กำศิริพิมาน-
dc.contributor.advisorรองศาสตราจารย์ ดร.ชรินทร์ มั่งคั่ง-
dc.contributor.authorแพรววนิต บุญวัฒน์en_US
dc.date.accessioned2018-05-02T02:15:42Z-
dc.date.available2018-05-02T02:15:42Z-
dc.date.issued2015-06-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/48597-
dc.description.abstractThis research aims to 1) design lesson plans integrated to sufficiency economics for primary students and 2) evaluate lesson plans integrated to sufficiency economics for primary students at Baan Klang Wittayanukul, Lamphun. The populations in this study are; five experts in lesson plans evaluation including teacher who has experience in integrated lesson plans, teacher who is an expert in writing integrated lesson plans. The instruments used in this study consist of five integrated lesson plans, five lesson plans evaluation forms, and focus group discussion record form. The data is analyzed by mean score and standard deviation and presented results with tables and descriptive analysis. The results show that there are five integrated lesson plans; lesson plan no.1 “The King, the symbol of sufficiency economics”, lesson plan no. 2 “Household Vegetable”, lesson plan no. 3 “Money Savings”, lesson no. 4 “Beneficially buy, use and save”, and lesson plan no. 5 “Good products in Local area”. Each integrated lesson plan is highly qualified by mean score 2.58 - 2.79 in learning standard determination/indicator, learning objective, learning content, learning process, learning integration, learning source/material, and evaluation and assessment.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการออกแบบแผนการเรียนรู้แบบบูรณาการ เรื่องเศรษฐกิจพอเพียง สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษา โรงเรียนบ้านกลางวิทยานุกูล จังหวัดลำพูนen_US
dc.title.alternativeDesigning Integrated Learning Plans on Sufficiency Economy for Prathom Suksa Students, Banklangwittayanukul School, Lamphun Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อออกแบบแผนการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ เรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษา 2) เพื่อประเมินแผนการเรียนรู้แบบบูรณาการ เรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษา โรงเรียนบ้านกลางวิทยานุกูล จังหวัดลำพูน กลุ่มเป้าหมายในการศึกษาครั้งนี้ คือ ผู้ประเมินแผนจำนวน 5 ท่าน ได้แก่ ครูผู้สอนที่มีประสบการณ์การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ ครูที่มีความเชี่ยวชาญในด้านการเขียนแผนการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ประกอบด้วยแผนการเรียนรู้แบบบูรณาการ จำนวน 5 แผน แบบประเมินแผนการเรียนรู้จำนวน 5 ชุด และแบบบันทึกการสนทนากลุ่มจำนวน 1 ชุด วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานนำเสนอข้อมูลด้วยตารางประกอบความเรียงบรรยาย ผลการศึกษาปรากฏว่า ได้แผนการเรียนรู้แบบบูรณาการจำนวน 5 แผนการเรียน คือ แผนการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง พระมหากษัตริย์ต้นแบบวิถีแห่งพอเพียง แผนการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง ผักสวนครัว รั้วกินได้ แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง มีออม ไม่มีอด แผนการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง รู้จักซื้อ รู้จักใช้ รู้จักเก็บไว้ ให้เกิดประโยชน์ แผนการเรียนรู้ที่ 5 เรื่อง สินค้าดี มีในท้องถิ่น ซึ่งแต่ละแผนการเรียนรู้มีคุณภาพมากทุกแผน โดยมีค่าเฉลี่ยระหว่าง 2.58 - 2.79 ทั้งด้านการกำหนดมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด จุดประสงค์การเรียนรู้ สาระสำคัญ สาระการเรียนรู้ กระบวนการ การบูรณาการ แหล่งเรียนรู้/สื่อการเรียนรู้ การวัดผลและประเมินผลen_US
Appears in Collections:EDU: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.docxAbstract (words)53.17 kBMicrosoft Word XMLView/Open    Request a copy
ABSTRACT.pdfAbstract206.23 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
FULL.pdfFull IS2.17 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.