Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/48596
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | รองศาสตราจารย์ ดร.ถนอมพร เลาหจรัสแสง | - |
dc.contributor.author | วรัญญา ชัยชนะพูนผล | en_US |
dc.date.accessioned | 2018-05-02T02:14:38Z | - |
dc.date.available | 2018-05-02T02:14:38Z | - |
dc.date.issued | 2015-07 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/48596 | - |
dc.description.abstract | The purpose of this independent study was to construct the Learning Object in Mathematics on the Surface Area of Three Dimensional Geometric Figures for Mathayom Suksa 3 Students. The subject of the study was a group of 60 Mathayom Suksa 3 students in Tonkaewphadungpittayalai School, the school of Chiang Mai Provincial Administrative Organization, who were studying in the first semester of school year 2015. The instruments used in this study were the Learning Object (created by the author) in Mathematics on the Surface Area of Three Dimensional Geometric Figures and the questionnaire of this Learning Object. After using the learning object, the subjects were asked to fill out the questionnaires. The data were analyzed and presented through the Mean (x) and Standard Deviation (S.D.). According to the results, it stated that the subjects gave a high preference to the multimedia screen design which had a x= 4.55 as compared to the design of instruction and content which had a x= 4.81 and the use of Learning Object with a x= 4.83. This meant that the graphics were beautiful and meaningful. In addition, the buttons were appropriately positioned and easy to use. The link for entering to the activities is easy. The subjects had a good participation in the activities by choosing the geometrics figures by themselves. Also, using this Learning Object helped students better understand math concepts such as the surface area of three dimensional geometric figures. Moreover, the subjects thought that integrating Learning object to the math subject was interesting and fun. The subjects enjoyed using the Learning Object in Mathematics on Surface Area of Three Dimensional Geometric Figures. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | การสร้างเลิร์นนิงอ็อบเจกต์วิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง การหาพื้นที่ผิว ของรูปเรขาคณิตสามมิติ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 | en_US |
dc.title.alternative | Construction of Learning Object in Mathematics on Surface Area of Three Dimensional Geometric Figures for Mathayom Suksa 3 Students | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การค้นคว้าแบบอิสระนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อสร้างเลิร์นนิงอ็อบเจกต์วิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง การหาพื้นที่ผิวของรูปเรขาคณิตสามมิติ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ซึ่งกลุ่มศึกษาคือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนต้นแก้วผดุงพิทยาลัย สังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2558 จำนวนทั้งสิ้น 60 คน โดยเครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา ครั้งนี้ ได้แก่ เลิร์นนิงอ็อบเจกต์วิชาคณิตศาสตร์เรื่อง การหาพื้นที่ผิวของรูปเรขาคณิตสามมิติและแบบสอบถามการใช้งานเลิร์นนิงอ็อบเจกต์สำหรับนักเรียน ซึ่งผู้ศึกษาได้ดำเนินการเก็บข้อมูลโดยให้กลุ่มศึกษาทั้งหมดทดสอบการใช้งานเลิร์นนิงอ็อบเจกต์วิชาคณิตศาสตร์ เรื่องการหาพื้นที่ผิวของ รูปเรขาคณิตสามมิติ จากนั้นให้กลุ่มศึกษาตอบแบบสอบถามการใช้งาน แล้วจึงนำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ค่าเฉลี่ย (x) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) จากผลการศึกษาพบว่า ในด้านการออกแบบหน้าจอมัลติมีเดีย ( x = 4.55) ด้านการออกแบบเนื้อหาและกิจกรรมการเรียนการสอน (x = 4.81) และด้านการใช้งานเลิร์นนิงอ็อบเจกต์ (x = 4.83) ผู้เรียนให้ความคิดเห็นอยู่ในระดับ มากที่สุด ทั้งนี้กลุ่มศึกษามีความเห็นโดยรวมว่า ภาพที่ใช้ในกิจกรรมมีความสวยงามน่าสนใจและ ช่วยทำให้เข้าใจเนื้อหาได้ง่าย การจัดวางปุ่มต่างๆง่ายต่อการใช้งานและง่ายต่อการเข้าใจ การเข้าสู่บทเรียนมีความสะดวก ไม่ยุ่งยากและไม่ซับซ้อน ในการทำกิจกรรมต่างในเลิร์นนิงอ็อบเจกต์นั้นผู้เรียนได้มีส่วนร่วมในการเรียนรู้โดยสามารถเลือกรูปเรขาคณิตที่สนใจได้ด้วยตนเอง จากการทำกิจกรรมในเลิร์นนิงอ็อบเจกต์ชุดนี้ช่วยให้ผู้เรียนนึกภาพและมองเห็นภาพของรูปเรขาคณิตสามมิติชัดเจนขึ้น ผู้เรียนได้รับความรู้และความเข้าจากการทำกิจกรรมโดยใช้เลิร์นนิงอ็อบเจกต์ การนำเสนอเนื้อหาในกิจกรรมมีความน่าสนใจสนุกสนานและไม่น่าเบื่อและผู้เรียนชอบการเรียนคณิตศาสตร์ เรื่อง การหาพื้นที่ผิวของรูปเรขาคณิตสามมิติโดยการใช้เลิร์นนิงอ็อบเจกต์ | en_US |
Appears in Collections: | EDU: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
ABSTRACT.docx | Abstract (words) | 50.46 kB | Microsoft Word XML | View/Open Request a copy |
ABSTRACT.pdf | Abstract | 341.56 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
FULL.pdf | Full IS | 11.13 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.