Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/48583
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ศิริพงษ์ ลดาวัลย์ ณ อยุธยา | - |
dc.contributor.author | วาสนา มาวงค์ | en_US |
dc.date.accessioned | 2018-05-01T02:17:37Z | - |
dc.date.available | 2018-05-01T02:17:37Z | - |
dc.date.issued | 2558-07 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/48583 | - |
dc.description.abstract | The purposes of the study entitled “Competency of Public Relation Officers, Chiang Mai University”, were 1) to investigate the competency level of Public Relation Officers, Chiang Mai University 2) to study the essential competency framework of Public Relation Officers, Chiang Mai University and 3) to examine the guidelines of applying the competency concept for Public Relation Officers, Chiang Mai University. This study was a qualitative and quantitative study collecting data by interviewing 9 executive and specialist Public Relation Officers and distributing questionnaires for 161 Public Relation Officers. The results could be summarized as follows: 1) The competency level of Public Relation Officers, Chiang Mai University revealed that all aspects were found at high level. The core competency of Public Relation Officers, Chiang Mai University comprised knowledge, skills and attribute were found at high level and the functional competency of human relations, self-control and personality, and Public Relation knowledge and skill were at a high level. 2) The essential competency framework of Public Relation Officers, Chiang Mai University consists of personality of human relations, knowledge, skill, and self-control and personality respectively. 3) The guidelines of applying the competency concept for Public Relation Officers, Chiang Mai University found that appropriate to used competency in Public Relation Officers. First, for recruitment selection and assignment, second for personnel development, and lastly for employee assessment. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | สมรรถนะการทำงาน | en_US |
dc.subject | ผู้ปฏิบัติงาน | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | สมรรถนะการทำงานของผู้ปฏิบัติงานด้านประชาสัมพันธ์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title.alternative | Competency of Public Relation Officers, Chiang Mai University | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thailis.classification.ddc | 331 | - |
thailis.controlvocab.thash | มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | - |
thailis.controlvocab.thash | สมรรถภาพในการทำงาน | - |
thailis.controlvocab.thash | การประชาสัมพันธ์ | - |
thailis.manuscript.callnumber | ว/ภน 331 ว285ส | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การค้นคว้าแบบอิสระ เรื่อง สมรรถนะการทำงานของผู้ปฏิบัติงานด้านประชาสัมพันธ์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อศึกษาระดับสมรรถนะด้านการประชาสัมพันธ์ของผู้ปฏิบัติงานด้านประชาสัมพันธ์ของหน่วยงานในสังกัดมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (2) เพื่อศึกษากรอบสมรรถนะที่จำเป็นต่อการทำงานของผู้ปฏิบัติงานด้านประชาสัมพันธ์ในมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (3) เพื่อศึกษาแนวทางการนำแนวคิดสมรรถนะมาปรับใช้กับการปฏิบัติงานด้านประชาสัมพันธ์ ของผู้ปฏิบัติงานด้านประชาสัมพันธ์ ในสังกัดมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยรูปแบบการศึกษาดังกล่าวเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพผสมผสานกับการวิจัยเชิงปริมาณ โดยใช้แบบสัมภาษณ์เชิงลึกกับผู้บริหาร และผู้รับผิดชอบงานด้านประชาสัมพันธ์ของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จำนวน 9 คน และแบบสอบถามสำหรับผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงานด้านประชาสัมพันธ์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จำนวน 161 คน ผลการศึกษาพบว่า 1. ระดับสมรรถนะด้านการประชาสัมพันธ์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ของผู้ปฏิบัติงานด้านประชาสัมพันธ์ของหน่วยงานในสังกัดมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยรวมอยู่ในระดับสูง ซึ่งประกอบด้วย สมรรถนะหลัก ด้านความรู้ ด้านทักษะ และด้านคุณลักษณะส่วนบุคคล อยู่ในระดับสูง และสมรรถนะเฉพาะตำแหน่ง ด้านมนุษยสัมพันธ์ ด้านการควบคุมอารมณ์และบุคลิกภาพ และด้านความรู้และทักษะด้านการประชาสัมพันธ์ อยู่ในระดับสูง 2. กรอบสมรรถนะที่จำเป็นต่อการทำงานของผู้ปฏิบัติงานด้านประชาสัมพันธ์ในมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ประกอบด้วย คุณลักษณะส่วนบุคคลด้านมนุษยสัมพันธ์ ด้านความรู้ ด้านทักษะ และ ด้านการควบคุมอารมณ์และบุคลิกภาพ ตามลำดับ 3. การนำแนวคิดสมรรถนะมาปรับใช้กับการปฏิบัติงานด้านประชาสัมพันธ์ พบว่า ผู้ปฏิบัติงานด้านประชาสัมพันธ์ ในสังกัดมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มีความคิดเห็นว่า มีความเหมาะสมที่การนำกรอบสมรรถนะงานด้านประชาสัมพันธ์ มาใช้เป็นเครื่องมือในการสรรหา คัดเลือก และบรรจุแต่งตั้ง เป็นอับดับแรก รองลงมาคือ นำมาใช้ในการพัฒนาฝึกอบรมบุคลากร และ สุดท้ายคือนำมาใช้ในการประเมินผลการปฏิบัติงาน | en_US |
Appears in Collections: | POL: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
ABSTRACT.docx | Abstract (words) | 176.77 kB | Microsoft Word XML | View/Open Request a copy |
ABSTRACT.pdf | Abstract | 177.82 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
FULL.pdf | Full IS | 4.49 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.