Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/48580
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ไทพีศรีนิวัติ ภักดีกุล | - |
dc.contributor.author | สุภาภรณ์ ทาสม | en_US |
dc.date.accessioned | 2018-04-30T06:27:26Z | - |
dc.date.available | 2018-04-30T06:27:26Z | - |
dc.date.issued | 2558-05 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/48580 | - |
dc.description.abstract | Shoe prints are generally found in the scene of crime, for example, shoe print stains with clay on the concrete ground or impressions in the sand. Normally such prints originated from the swell parts. This research has been done by photographing 200 pairs of shoes from Chiang Mai market in order to analyze in qualitative method. Each side of the shoe is then divided into two parts, namely the toe and the heel. The second step is to classify according to geometric patterns. This research proved that the right and the left side of each pair have the same qualifications without any significant differences. The variety of patterns can be identified to different group classifications, for example, sandals and cut-shoes. Moreover, some patterns are found in specific type of shoes only, for example, canvas shoes. It is noticeable that trademarks, alphabets or any other codes are usually found at the end part of the shoes. However, even general patterns are the same, but their details are different, for example, the size of patterns, the amount of the codes and their trails form manufacturing. The findings of this research is hopefully be useful for crime scene investigation in the future. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | การจัดเก็บข้อมูล | en_US |
dc.subject | รองเท้า | en_US |
dc.subject | รอยพื้นรองเท้า | en_US |
dc.title | การจัดเก็บข้อมูลลักษณะรูปแบบรองเท้าที่มีจำหน่ายใน ตลาดอำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ เพื่อการจำแนกประเภทรอยพื้นรองเท้า | en_US |
dc.title.alternative | Collection of Footwear Patterns Selling in Markets Within Mueang District, Chiang Mai Province for Classification of Footwear Prints | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.classification.ddc | 363.25 | - |
thailis.controlvocab.thash | การพิสูจน์หลักฐาน | - |
thailis.controlvocab.thash | พยานหลักฐาน | - |
thailis.controlvocab.thash | รองเท้า | - |
thailis.controlvocab.thash | นิติวิทยาศาสตร์ | - |
thailis.manuscript.callnumber | ว/ภน 363.25 ส462ก | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | รอยพื้นรองเท้า เป็นหลักฐานหรือวัตถุพยานหนึ่งที่มักปรากฏอยู่ในที่เกิดเหตุ เช่น รอยพื้นรองเท้าที่เปื้อนดินหรือโคลนบนพื้นคอนกรีต รอยพื้นรองเท้าที่ประทับบนพื้นดินหรือพื้นทรายที่อ่อนนุ่ม เป็นต้น รอยพื้นรองเท้าที่พบในที่เกิดเหตุคือลายพื้นรองเท้าส่วนที่เป็นสันนูน การเก็บข้อมูลตัวอย่างรองเท้านั้นเลือกเก็บตัวอย่างรองเท้าที่มีการจัดจำหน่ายในอำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 200 คู่ ด้วยการถ่ายภาพ นำมาทำการวิเคราะห์เชิงคุณภาพ โดยแบ่งพื้นรองเท้าเป็น 2 ส่วนเท่าๆกัน คือ ส่วนหัวรองเท้าและส่วนท้ายรองเท้า แล้วจำแนกลายส่วนที่ปรากฏตามรูปทรงเรขาคณิต ซึ่งรองเท้าข้างซ้ายและข้างขวามีลายที่เหมือนกันจึงไม่มีอะไรแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ ลายพื้นรองเท้าที่ปรากฏนั้นหลายแบบสามารถระบุถึงประเภทของรองเท้าได้ เช่น รองเท้าแตะฟองน้ำแบบคีบ รองเท้าแตะฟองน้ำแบบสวม เป็นต้น ส่วนลายพื้นรองเท้าบางชนิดอาจพบในรองเท้าประเภทเดียวกันเท่านั้น เช่น รองเท้าผ้าใบหุ้มส้น เป็นต้น เครื่องหมายการค้า หรือตัวพยัญชนะ หรือตัวเลข พบมากในส่วนท้ายของลายพื้นรองเท้า และแม้ว่าลายพื้นรองเท้ามีรหัสลายเหมือนกันทั้งหมด แต่อาจยังมีรายละเอียดในตัวลายที่แตกต่างกัน เช่น ขนาดของลายต่างๆ จำนวนของลายที่แตกต่างไปตามยี่ห้อ ตำหนิของรองเท้าที่เกิดจากกระบวนการผลิต เป็นต้น ดังนั้น การจัดแยกพื้นรองเท้าจึงเป็นการจำแนกวัตถุพยานหนึ่งซึ่งหากสามารถบ่งชี้รอยพื้นรองเท้าได้ ย่อมมีประโยชน์อย่างยิ่งในการจำกัดขอบเขตการสืบสวนสอบสวนคดีและความเชื่อมโยงไปหาผู้เกี่ยวข้องในคดีดังกล่าวได้ | en_US |
Appears in Collections: | GRAD-Health Sciences: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
ABSTRACT.docx | Abstract (words) | 55.57 kB | Microsoft Word XML | View/Open |
ABSTRACT.pdf | Abstract | 230.17 kB | Adobe PDF | View/Open |
FULL.pdf | Full IS | 15.68 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.