Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/48570
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอัครพล นิมมลรัตน์-
dc.contributor.authorอรรณพ ภิรมย์ประเมศen_US
dc.date.accessioned2018-04-30T04:01:01Z-
dc.date.available2018-04-30T04:01:01Z-
dc.date.issued2558-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/48570-
dc.description.abstractThe aim of this study is to examine the policies that are related to the government teacher and the educational personnel’ benefits and welfare leave, in the Chiang Mai College of Dramatic Arts, and synthesis of required knowledge. The work specifically focuses on benefits and welfare leave in the College of Dramatic Arts. The knowledge engineering process was used to determine the knowledge required in developing learning model. The results indicated that six practical rights for group of government: include sick leave, maternity leave, assisting a spouse with maternity leave, ordination leave, personal leave, and education and training leave. However, group of educational personnel are allow only 4 rights include sick leave, maternity leave, personal leave and ordination leave. The learning model of the Chiang Mai Academy of Dramatic Arts ‘benefits and welfare leave developed in this study is a simple concept that can be easily learnt and applied for teachers and educational staffs regard to their rights to take a preliminary leave. Moreover, the learning model could effectively support those involved in the leaving process include the teachers and educational staff, administrative personnel, and the director of the academy.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectการสร้างต้นแบบการเรียนรู้en_US
dc.subjectสิทธิประโยชน์en_US
dc.subjectสวัสดิการen_US
dc.subjectวิทยาลัยนาฏศิลปเชียงใหม่en_US
dc.titleการสร้างต้นแบบการเรียนรู้ สิทธิประโยชน์และสวัสดิการของวิทยาลัยนาฏศิลปเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativePrototyping of Learning Benefits and Welfare for Chiang Mai College of Dramatic Artsen_US
dc.typeIndependent Study (IS)-
thailis.classification.ddc658.4038-
thailis.controlvocab.thashวิทยาลัยนาฎศิลปเชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashการบริหารองค์ความรู้-
thailis.controlvocab.thashการลา-
thailis.controlvocab.thashบริการสังคม-
thailis.manuscript.callnumberว 658.4038 อ177ก-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษากฎ ระเบียบ ที่เกี่ยวข้องกับสิทธิประโยชน์และสวัสดิการด้านการลาของข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษาของวิทยาลัยนาฏศิลปเชียงใหม่โดยสร้างต้นแบบการเรียนรู้สิทธิประโยชน์ และสวัสดิการด้านการลาด้วยกระบวนการวิศวกรรมความรู้ ผลการศึกษาพบว่าข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาของวิทยาลัยฯ แต่ละประเภทมีสิทธิการลาที่ไม่เหมือนกันและมีการบังคับใช้ระเบียบปฏิบัติที่ต่างกัน โดยองค์ความรู้ที่จำเป็นเรื่องสิทธิประโยชน์ และสวัสดิการด้านการลาที่ใช้ในการปฏิบัติงานสำหรับกลุ่มข้าราชการมีจำนวน 6 สิทธิ ได้แก่ การลาป่วย การลาคลอดบุตร การลาช่วยเหลือภริยาที่คลอดบุตร การลากิจส่วนตัว การลาอุปสมบท และ การลาไปศึกษา อบรม ดูงาน สำหรับกลุ่มบุคลากรทางการศึกษามีสิทธิในการลาได้เพียง 4 สิทธิ คือการลาป่วย การลาคลอดบุตร การลากิจส่วนตัว และการลาอุปสมบท จากการสังเคราะห์ ต้นแบบการเรียนรู้สิทธิประโยชน์และสวัสดิการของวิทยาลัยฯ ครอบคลุมระเบียบปฏิบัติต่าง ๆ ทำให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาสามารถเรียนรู้และปฏิบัติในเรื่องของสิทธิการลาได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตลอดจนทำให้การประสานงานยังผู้เกี่ยวข้องได้แก่งานธุรการ งานบุคลากร และผู้อำนวยการ สามารถปฏิบัติได้อย่างรวดเร็วและถูกต้องen_US
Appears in Collections:CAMT: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.docxAbstract (words)58.31 kBMicrosoft Word XMLView/Open
ABSTRACT.pdfAbstract176.67 kBAdobe PDFView/Open
FULL.pdfFull IS11.3 MBAdobe PDFView/Open


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.