Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/48552
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจันทนา สุทธิจารี-
dc.contributor.authorธีรยุทธ พุ่มนวนen_US
dc.date.accessioned2018-04-26T09:27:16Z-
dc.date.available2018-04-26T09:27:16Z-
dc.date.issued2558-07-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/48552-
dc.description.abstractThe study “Conflict Among Ethnic Groups in the Election Village Headmen, Tumbon Pang-Ma-Pha, Ampher Pang Ma Pha, Mae Hong Son Province” aimed to 1) investigate origins and characteristics of conflicts of ethnic groups in electing village headmen, 2) study causes of the conflicts, and 3) suggest possible solutions to the conflicts. This study was based on ethnic and ethnic identity theories, conflict theories, interest group theories, and local administrative theories. In addition, in this qualitative study, participants from 34 selected groups were interviewed which included Chief Executive of Pang-Ma-Pha Subdistrict Administrative Organization, Pang-Ma-Pha village chiefs, Pang-Ma-Pha village headmen, and representatives of informal group leaders in the area. Moreover, a non-participant observation was employed to collect demographic data. A participant observation was also used in the meetings, activities, and ceremonies in Tumbon Pang-Ma-Pha, Ampher Pang Ma Pha, Mae Hong Son Province. Below are the findings from the study. The main conflicts were: 1.1 The conflicts were caused by the traditional leaders or informal leaders in the community tried to win the authority in the community. Thus, they sent their members to run for the village headman election. 1.2 The conflicts were caused by the competition within families which had strong ethnic ties which was one of the causes of the conflicts in choosing the side of the headman candidates. This contributed to the intense conflicts in electing village headmen. 1.3 The lack of education among the villagers allowed the interest groups to become influential in the election. The conflicts also caused by the intervention of the local and national politics. The long term of office and the increasing emolument made the election very competitive leading to the conflicts. The increasing number of local elections caused the division of the political interest groups which caused the conflicts to become more complicated. The suggestions and applications included: 2.1 The organizations related to ethnics should educate the local to have a better understanding about traditions and ethnical believes which have been affected by the conflicts. In addition, the government organizations should educate and instill the local about democracy. Lifestyle, traditions, and customs should be used in solving the conflicts among the ethnic villages since the lifestyle of each ethnic relies on their own traditions and customs. The Act on Regional Administration 2457 (Issue 11) 2551 BE has stated the criteria and procedures in electing the village chiefs and headmen as well as the term of office (retirement age at 60). However, the regulations for evaluation have not been issued though there must be an evaluation every five years. Thus, the local should be able to participate in setting up the regulations to evaluate the village chiefs and headmen. This might be able to decrease the conflicts of ethnic groups in electing the village headmen.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectความขัดแย้งen_US
dc.subjectกลุ่มชาติพันธุ์en_US
dc.subjectผู้ใหญ่บ้านen_US
dc.titleความขัดแย้งของกลุ่มชาติพันธุ์ในการเลือกผู้ใหญ่บ้าน ตำบลปางมะผ้า อำเภอปางมะผ้า จังหวัดแม่ฮ่องสอนen_US
dc.title.alternativeConflict Among Ethnic Groups in the Election Village Headmen, Tumbon Pang-Ma-Pha, Ampher Pang Ma Pha, Mae Hong Son Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.classification.ddc303.69-
thailis.controlvocab.thashความขัดแย้งทางชาติพันธุ์ -- ปางมะผ้า (แม่ฮ่องสอน)-
thailis.controlvocab.thashผู้ใหญ่บ้าน -- ปางมะผ้า (แม่ฮ่องสอน)-
thailis.manuscript.callnumberว/ภน 303.69 ธ376ค-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาเรื่อง ความขัดแย้งของกลุ่มชาติพันธุ์ในการเลือกผู้ใหญ่บ้าน ตำบลปางมะผ้า อำเภอปางมะผ้า จังหวัดแม่ฮ่องสอนโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. เพื่อศึกษาถึงที่มาและลักษณะของความขัดแย้งของกลุ่มชาติพันธุ์ในการเลือกผู้ใหญ่บ้าน 2. เพื่อศึกษาถึงสาเหตุของความขัดแย้งของกลุ่มชาติพันธุ์ในการเลือกผู้ใหญ่บ้าน 3. เพื่อศึกษาและเสนอแนวทางในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งของกลุ่มชาติพันธุ์ในการเลือกผู้ใหญ่บ้าน โดยอาศัยแนวคิดเกี่ยวกับความเป็นชาติพันธุ์และอัตลักษณ์ทางชาติพันธุ์ แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับความขัดแย้ง (Conflict Theory) แนวคิดกลุ่มผลประโยชน์ และ แนวคิดเกี่ยวกับการปกครองท้องที่ โดยวิธีการวิจัยครั้งนี้วิเคราะห์ผ่านการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยใช้เทคนิคการสัมภาษณ์กับกลุ่มตัวอย่างที่คัดเลือก จำนวน 34 กลุ่มตัวอย่าง ประกอบด้วย นายกองค์การบริหารส่วนตำบลปางมะผ้า กำนันตำบลปางมะผ้า ผู้ใหญ่บ้านตำบลปางมะผ้า และตัวแทนกลุ่มผู้นำกลุ่มที่ไม่เป็นทางการกลุ่มต่างๆในพื้นที่ การเข้าไปสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วม เพื่อเก็บข้อมูลด้านกายภาพของชุมชน และการสังเกตแบบมีส่วนร่วมโดยการเข้าร่วมประชุมและกิจกรรมต่างๆตามประเพณีวัฒนธรรมในพื้นที่ ตำบลปางมะผ้า อำเภอปางมะผ้า จังหวัดแม่ฮ่องสอน จากผลการศึกษาพบว่า 1. ข้อค้นพบความขัดแย้งที่สำคัญ คือ ความขัดแย้งของผู้นำตามประเพณีในชุมชนหรือผู้นำที่ไม่เป็นทางการในชุมชนที่พยายามช่วงชิงการมีอิทธิพลในชุมชน โดยการส่งคนของตนเองลงสมัครรับเลือกเป็นผู้ใหญ่บ้าน 1.2 ความขัดแย้งเกิดจากการแข่งขันระหว่างกลุ่มเครือญาติ ที่มีความเหนียวแน่นในลักษณะกลุ่มชาติพันธุ์เป็นสาเหตุหนึ่งของความขัดแย้งในการเข้าข้างผู้สมัครเลือกผู้ใหญ่บ้าน ในแต่ละฝ่ายซึ่งเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้ความขัดแย้งในการเลือกผู้ใหญ่บ้านรุนแรงขึ้น 1.3 การขาดความรู้ของชาวบ้าน ในการเลือกตั้งทำให้กลุ่มผู้นำกลุ่มผลประโยชน์ต่าง ๆ มีอิทธิพลในการชี้นำค่อนข้างสูง 1.4 ปัญหาความขัดแย้งที่เกิดขึ้น เกิดจากการเข้ามาแทรกแซงของการเมืองในระดับท้องถิ่นและระดับชาติ ในการเลือกผู้ใหญ่บ้าน วาระในการดำรงตำแหน่งที่นานเกินไปและเงินค่าตอบแทนที่เพิ่มสูงขึ้น ทำให้การแข่งขัน สูงขึ้น จึงนำไปสู่ความขัดแย้ง 1.6 เกิดจากการมีการเลือกตั้งในชุมชนมากเกินไปทำให้มีการแบ่งกลุ่มผลประโยชน์ทางการเมืองในชุมชนที่ชัดเจนขึ้นอันเนื่องมาจากการเลือกตั้งทำให้ความขัดแย้งมีความซับซ้อนมากยิ่งขึ้น 2. ข้อเสนอแนะเพื่อการประยุกต์ใช้ 2.1 ผู้วิจัยเห็นว่าในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งควรใช้องค์กรที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มชาติพันธุ์มาเป็นคนประสานให้ความรู้ทำความเข้าใจและให้ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับจารีตประเพณี ความเชื่อของกลุ่มชาติพันธุ์ เนื่องจากผลจากความขัดแย้งที่เกิดขึ้นทำให้มีผลกระทบต่อประเพณีวัฒนธรรม ความเชื่อของความเป็นชาติพันธุ์ และอีกประเด็นคือองค์กร หน่วยงานของรัฐ ควรเข้ามาให้ความรู้แก่ชาวบ้านในเรื่องของวิถีการปกครองแบบประชาธิปไตย ควรมีการปลูกฝังอย่างจริงจัง 2.2 การนำเอาวิถีชีวิต ขนบธรรมเนียมประเพณีมาเป็นส่วนช่วยประสานความขัดแย้ง ในกลุ่มหมู่บ้านที่เป็นชาติพันธุ์ เพราะตามวิถีชีวิตของความเป็นชาติพันธุ์ต้องพึ่งพิงกับพิธีกรรมตามประเพณีของแต่ละกลุ่มชาติพันธุ์นั้นๆ 2.3 สำหรับการเลือก กำนันผู้ใหญ่บ้าน พระราชบัญญัติลักษณะปกครองท้องที่ 2457 (ฉบับที่ 11) พ.ศ.2551 ซึ่งได้วางกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการเลือกกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน รวมทั้งวาระในการดำรงตำแหน่ง จนอายุครบ 60 ปี แต่ยังมีประเด็นเรื่องของการประเมินผลการทำงานซึ่งกำหนดให้มีการประเมิน ทุกๆ 5 ปี ซึ่งขณะนี้ก็ยังไม่มีการออกระเบียบหรือกฎเกณฑ์ในการประเมินที่ชัดเจน ผู้วิจัยเห็นว่าในการออกหลักเกณฑ์ในการประเมินผลการปฏิบัติงานของ กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ควรที่จะให้ประชาชนในหมู่บ้านเข้ามามีบทบาทในการแสดงความคิดเห็นให้มากที่สุด ซึ่งอาจเป็นส่วนที่จะช่วยลดปัญหาความขัดแย้งที่เกิดจากการเลือก กำนัน ผู้ใหญ่บ้านลงได้en_US
Appears in Collections:POL: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.docxAbstract (words)180.4 kBMicrosoft Word XMLView/Open    Request a copy
ABSTRACT.pdfAbstract232.71 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
FULL.pdfFull IS3.13 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.