Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/46112
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorณรงค์ สินสวัสดิ์-
dc.contributor.authorชัยวัฒน์ เชื้อสกุลen_US
dc.date.accessioned2018-04-17T08:49:56Z-
dc.date.available2018-04-17T08:49:56Z-
dc.date.issued2558-09-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/46112-
dc.description.abstractThis research is to study the Impact of Enforcement the Building Control Act B.E.2522 Toward Large Building Construction in Chiang Mai City Municipality Area. The objectives of this study were 1) to study the impact of Enforcement the Building Control Act B.E.2522 effect to people and real estate entrepreneurs in Chiang Mai City Municipality Area. 2) to study the problems of citizens and real estate entrepreneurs in Chiang Mai Municipality to enforce the Building Control Act. 3) to study the problems of the enforcement of the Building Control Act to people, real estate owners and officers of Chiang Mai City Municipality such as architect, engineers and civil engineers those who play a role of design and building control in Chiang Mai City Municipality. The instrument of this study was data collection. Data were collected via questionnaire that included three parts as follows: Part 1: people in Chiang Mai City Municipality including people who have construction permits, renovation, and living nearby large/extra-large building. Part 2: real estate entrepreneurs divided into 3 groups 1. small scale 2. middle scale 3. large scale Part 3: Member of Chiang Mai City Municipality council, architect engineer and civil engineer, officer in Bureau of Public Works in Chiang Mai City Municipality, who is responsible for construction permits. The problems were found that the operating system license requirements were slow, a survey to verify construction or authenticate the conflicts of boundary was delay, the air pollution, dust problem, colour and chemical of construction and machinery noise pollution affected to people who live nearby. It was recommended that there should be integration of Building Control Act B.E.2522 and related laws (Building Control Act B.E.2535 and 2543) including rules or the Ministry of the Interior Law issued by local organization or authority, such provisions or notification of Bangkok Metropolitan Administration, provision or notification of the City Municipality, Town Municipality and the city of Pattaya according to under this Act and other legislations combined as a single law. That is the Building Construction Act in order to reduce the complexity of the laws or regulations.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522en_US
dc.subjectอาคารen_US
dc.subjectเทศบาลนครเชียงใหม่en_US
dc.titleผลกระทบของการบังคับใช้พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522 ต่อการก่อสร้างอาคารขนาดใหญ่ในเขตเทศบาลนครเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeThe Impact of Enforcement the Building Control Act B.E.2522 Toward Large Building Construction in Chiang Mai City Municipality Areaen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.classification.ddc343.07869-
thailis.controlvocab.thashอาคาร -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ-
thailis.controlvocab.thashกฎหมายก่อสร้าง-
thailis.controlvocab.thashอสังหาริมทรัพย์ -- เชียงใหม่-
thailis.manuscript.callnumberว/ภน 343.07869 ช116ผ-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษา เรื่อง ผลกระทบจากการบังคับใช้พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522 ในการควบคุมการก่อสร้างอาคารขนาดใหญ่ในเขตเทศบาลนครเชียงใหม่ ครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ ได้แก่ 1) เพื่อศึกษาผลกระทบจากการบังคับใช้พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522 ที่มีต่อประชาชนและผู้ประกอบการอสังหาริมทรัพย์ในเขตเทศบาลนครเชียงใหม่ 2) เพื่อศึกษาถึงปัญหาที่เกิดขึ้นของประชาชนและผู้ประกอบการอสังหาริมทรัพย์ในเขตเทศบาลนครเชียงใหม่ต่อการบังคับใช้พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร และ 3) เพื่อศึกษาถึงปัญหาด้านแนวทางการบังคับใช้พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 ของประชาชน เจ้าของกิจการอสังหาริมทรัพย์ พนักงานเจ้าหน้าที่ของเทศบาลนครเชียงใหม่ อาทิ สถาปนิก วิศวกร และนายช่างโยธา เป็นต้น ที่มีบทบาทในการออกแบบควบคุมงานการก่อสร้างอาคาร สิ่งปลูกสร้างในเขตเทศบาลนครเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ โดยการศึกษาในครั้งนี้ผู้วิจัยได้ทำการเก็บรวบรวมข้อมูลจากแบบสอบถามโดยแบ่งเป็น 3 ส่วนคือ ส่วนที่ 1 คือ ประชาชน ในเขตพื้นที่เทศบาลนครเชียงใหม่ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ ประกอบด้วยประชาชนที่เคยขออนุญาตก่อสร้าง ต่อเติมอาคารในเขตเทศบาลนครเชียงใหม่ ประชาชนที่พักอาศัยอยู่ใกล้บริเวณอาคารขนาดใหญ่/อาคารขนาดใหญ่พิเศษ ส่วนที่ 2 ผู้ประกอบการอสังหาริมทรัพย์ แบ่งออกเป็น 3 กลุ่มย่อย ได้แก่ ผู้ประกอบการอสังหาริมทรัพย์ขนาดเล็ก ผู้ประกอบการอสังหาริมทรัพย์ขนาดกลางและผู้ประกอบการอสังหาริมทรัพย์ขนาดใหญ่ ส่วนที่ 3 สมาชิกสภาเทศบาลนครเชียงใหม่, สถาปนิก วิศวกรและนายช่างโยธา, เจ้าพนักงานผู้มีหน้าที่รับผิดชอบเรื่องใบอนุญาตการก่อสร้างในส่วนสำนักการช่าง เทศบาลนครเชียงใหม่ ปัญหาที่พบส่วนใหญ่จะเป็นในเรื่องของความล่าช้าที่เกิดขึ้นในการติดต่อขอรับใบอนุญาต การลงพื้นที่ในการตรวจสอบความถูกต้องของการก่อสร้างหรือตรวจสอบสิทธิ์ในกรณีพิพาทเรื่องเขตแดนพื้นที่ข้างเคียงล่าช้า เป็นต้น ปัญหาจากมลภาวะทางอากาศ ปัญหาฝุ่นละออง สี สารเคมีจากการก่อสร้างและปัญหามลภาวะทางเสียงเครื่องมือ เครื่องจักรที่ใช้ในการก่อสร้างซึ่งเป็นปัญหาหลักที่ประชาชนส่วนใหญ่ได้รับผลกระทบจากการก่อสร้างอาคารบริเวณใกล้เคียงกับพื้นที่พักอาศัยของตน แนวทางการแก้ไขปัญหาหรือข้อเสนอแนะคือ ควรมีการบูรณาการกฎหมายที่เกี่ยวข้องด้านการก่อสร้าง เช่น พ.ร.บ.ควบคุมอาคาร พ.ศ.2522 (และพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร ฉบับที่ 2 และ 3 ในปี พ.ศ. 2535 และ 2543 ตามลำดับ) กฎหมายอีกเป็นจำนวนมากที่ออกโดยอาศัยความตามพระราชบัญญัติฉบับนี้ เช่นกฎ หรือ ประกาศกระทรวงมหาดไทย กฎหมายที่ออกโดยองค์กรหรือเจ้าพนักงานท้องถิ่น เช่น ข้อบัญญัติหรือประกาศกรุงเทพมหานคร ข้อบัญญัติหรือประกาศของเทศบาลนคร เทศบาล และเมืองพัทยา เป็นต้น ภายใต้พระราชบัญญัตินี้และกฎหมายประกอบอื่น ๆ ทั้งปวง มารวมเป็นกฎหมายเดียว คือ พ.ร.บ.การก่อสร้าง เพื่อลดความยุ่งยากซับซ้อนในการมีกฎหมายหรือข้อบังคับหลายฉบับen_US
Appears in Collections:POL: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.docxAbstract (words)52.01 kBMicrosoft Word XMLView/Open    Request a copy
ABSTRACT.pdfAbstract165.3 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
FULL.pdfFull IS3.05 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.