Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/46111
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | จารุณี มณีกุล | - |
dc.contributor.advisor | ชรินทร์ มั่งคั่ง | - |
dc.contributor.author | จันจิรา มะโนเพ็ญ | en_US |
dc.date.accessioned | 2018-04-17T08:48:35Z | - |
dc.date.available | 2018-04-17T08:48:35Z | - |
dc.date.issued | 2558-09 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/46111 | - |
dc.description.abstract | The purpose of this study were to Develop Thinking Skills Exercises in Buddhism Strand for Mathayom Suksa 3 Students on the title integration moral principle for life. The target group consisted of 1 directors, 3 experienced teachers, who taught in social studies, and an educational supervisor in The Office Maehongson Primary Education Service Area 1. The instruments consisted of 4 Development of Thinking Skills Exercises in Buddhism Strand to Promote Critical Thinking for Mathayom Suksa 3 Students on the title integration moral principle for life and Development of Thinking Skills Exercises assessment. The data were analyzed by using means and standard deviation. The findings were as follows; Four thinking skills exercises in Buddhism Strand to Promote critical thinking were developed. There were (1) Dukkha, (2) Samudaya, (3) Nirodha, (4) Magga. All the Development of thinking skills exercises in Buddhism Strand to Promote critical thinking were appropriate in highest Level with the means of 2.86 and standard deviation of 0.24. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | ทักษะการคิด | en_US |
dc.subject | พระพุทธศาสนา | en_US |
dc.subject | การคิดอย่างมีวิจารณญาณ | en_US |
dc.title | การพัฒนาแบบฝึกทักษะการคิดสาระพระพุทธศาสนาเพื่อส่งเสริมการคิดอย่างมีวิจารณญาณสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 | en_US |
dc.title.alternative | Development of Thinking Skills Exercises in Buddhism Strand for Mathayom Suksa 3 Students | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thailis.classification.ddc | 373.236 | - |
thailis.controlvocab.thash | การศึกษาขั้นมัธยม | - |
thailis.controlvocab.thash | พุทธศาสนา -- การศึกษาและการสอน | - |
thailis.manuscript.callnumber | ว 373.236 จ115ก | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การศึกษาเรื่อง การพัฒนาแบบฝึกทักษะการคิดสาระพระพุทธศาสนา เพื่อส่งเสริมการคิดอย่างมีวิจารณญาณ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาแบบฝึกทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณและประเมินคุณภาพของแบบฝึกทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้จำนวน 5 คน ได้แก่ ผู้อำนวยการโรงเรียน จำนวน 1 คน ครูผู้สอนกลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม จำนวน 3 คน ศึกษานิเทศก์ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาแม่ฮ่องสอน เขต 1 จำนวน 1 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้คือ แบบฝึกทักษะการคิดสาระพระพุทธศาสนา เพื่อส่งเสริมการคิดอย่างมีวิจารณญาณ จำนวน 4 แบบฝึก และแบบประเมินคุณภาพแบบฝึกทักษะการคิดสาระพระพุทธศาสนา เพื่อส่งเสริมการคิดอย่างมีวิจารณญาณ วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน นำเสนอข้อมูลด้วยตารางประกอบความเรียงบรรยายผลการศึกษาพบว่าได้แบบฝึกทักษะการคิดสาระพระพุทธศาสนาเพื่อส่งเสริมการคิดอย่างมีวิจารณญาณ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 หลักธรรมอริสัจ 4 จำนวน 4 แบบฝึก คือ เรื่องที่ 1 ทุกข์ (ธรรมที่ควรรู้) เรื่องที่ 2 สมุทัย (ธรรมที่ควรละ) เรื่องที่ 3 นิโรธ (ธรรมที่ควรบรรลุ) และเรื่องที่ 4 มรรค (ธรรมที่ควรเจริญ) โดยรวมแบบฝึกทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณทั้ง 4 แบบฝึก มีค่าความเหมาะสมในระดับมากที่สุด ซึ่งมีค่าเฉลี่ย (x ) เท่ากับ 2.86 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ( S.D.) เท่ากับ 0.24 | en_US |
Appears in Collections: | EDU: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
ABSTRACT.docx | Abstract (words) | 176.82 kB | Microsoft Word XML | View/Open Request a copy |
ABSTRACT.pdf | Abstract | 264.24 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
FULL.pdf | Full IS | 5.44 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.