Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/46064
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพัชราวรรณ ศรีศิลปะนันทน์-
dc.contributor.authorกานต์สิรี สุขเกษมen_US
dc.date.accessioned2018-04-10T03:46:20Z-
dc.date.available2018-04-10T03:46:20Z-
dc.date.issued2558-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/46064-
dc.description.abstractNowadays, people are living longer and have more remaining teeth, therefore, there is a high prevalence of tooth wear which is a lifetime of tooth surface loss and is an irreversible process. The purposes of this cross-sectional descriptive study was to determine the prevalence and severity of tooth wear including the risk factors associated with an occurrence of tooth wear in adults ages between 35 to 74 years old in Thongsaenkhan District, Uttaradit province. The data were collected from May to September 2014. An oral examination based on the clinical examination of tooth wear using the Smith and Knight TWI, Basic Erosive Wear Examination (BEWE) and saliva measurement. A face-to-face interview of demographic data and related risk factors was performed. Descriptive statistics and chi-square testing were used to analyze the data. A total of subjects examined were 385 people. Mean age was 54.3±9.9 years old. The prevalence of three types of tooth wear “abrasion”, “erosion” and “attrition” were 99.2, 80.8 and 57.9 percent respectively. The measure of tooth wear severity using the index of Smith and Knight TWI level 2, level 3 and level 4 were 4.4, 63.9, 31.7 percent respectively. The overall average of severity score was 3.3±0.5. The measure of tooth wear severity using the BEWE in level 2 and level 3 were 5.8 and 94.2 percent respectively. Furthermore, there was an association between sex, age and the salivary flow rate and the level of tooth wear severity. This study revealed the high level of prevalence and severity and associated risk factors of tooth wear. There is a high priority to prevent and monitor tooth wear by raising awareness and emphasis the importance of the consequences of tooth wear. A total of subjects examined were 385 people. Mean age was 54.3±9.9 years old. The prevalence of three types of tooth wear “abrasion”, “erosion” and “attrition” were 99.2, 80.8 and 57.9 percent respectively. The measure of tooth wear severity using the index of Smith and Knight TWI level 2, level 3 and level 4 were 4.4, 63.9, 31.7 percent respectively. The overall average of severity score was 3.3±0.5. The measure of tooth wear severity using the BEWE in level 2 and level 3 were 5.8 and 94.2 percent respectively. Furthermore, there was an association between sex, age and the salivary flow rate and the level of tooth wear severity. This study revealed the high level of prevalence and severity and associated risk factors of tooth wear. There is a high priority to prevent and monitor tooth wear by raising awareness and emphasis the importance of the consequences of tooth wear.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectฟันen_US
dc.subjectสภาวะฟันสึกen_US
dc.subjectปัจจัยเสี่ยงen_US
dc.titleความชุก ความรุนแรงและปัจจัยเสี่ยงที่มีความสัมพันธ์กับสภาวะฟันสึกในประชากรอายุ 35 - 74 ปี อำเภอทองแสนขัน จังหวัดอุตรดิตถ์en_US
dc.title.alternativePrevalence, Severity and Risk Factors Associated Tooth Wear in Adults 35 - 74 Years old, Thongsaenkhan District, Uttaradit Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.classification.ddc617.63-
thailis.controlvocab.thashฟัน -- การสึกกร่อน-
thailis.controlvocab.thashฟัน -- โรค -- ทองแสนขัน (อุตรดิตถ์)-
thailis.controlvocab.thashทันตานามัย-
thailis.manuscript.callnumberว 617.63 ก214ค-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractปัจจุบันประชากรมีอายุที่ยืนยาวและมีฟันเหลือในช่องปากมากขึ้นทำให้พบความชุกของฟันสึกเพิ่มขึ้น เนื่องจากสภาวะฟันสึกเป็นกระบวนการสูญเสียผิวฟันแบบไม่สามารถผันกลับได้สามารถเกิดได้ตลอดชีวิต การศึกษาเชิงพรรณนาแบบตัดขวางนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความชุกและความรุนแรงของสภาวะฟันสึก รวมทั้งปัจจัยเสี่ยงที่มีความสัมพันธ์กับการเกิดสภาวะฟันสึกในกลุ่มประชากรอายุ 35 - 74 ปี อำเภอทองแสนขัน จังหวัดอุตรดิตถ์ เก็บรวบรวมข้อมูลตั้งแต่เดือนพฤษภาคมถึงเดือนกันยายน พ.ศ.2557 การตรวจสภาวะฟันสึกในช่องปากใช้เกณฑ์วัดระดับความรุนแรงของสภาวะฟันสึกตามดัชนี Smith and Knight TWI และ Basic Erosive Wear Examination (BEWE) แบบบันทึกปริมาณน้ำลาย ร่วมกับแบบสัมภาษณ์ข้อมูลทั่วไป และปัจจัยเสี่ยงที่มีผลต่อการเกิดสภาวะฟันสึกใช้สถิติเชิงพรรณนา และการทดสอบ Chi square ในการวิเคราะห์ข้อมูล ผลการศึกษาพบกลุ่มตัวอย่างที่ทำการศึกษา 385 คน อายุเฉลี่ย 54.3±9.9 ปี ความชุกของฟันสึกชนิด abrasion ร้อยละ 99.2 ฟันสึกชนิด erosion ร้อยละ 80.8 และฟันสึกชนิด attrition ร้อยละ 57.9 ความรุนแรงของสภาวะฟันสึกโดยใช้ดัชนี Smith and Knight TWI พบความรุนแรงระดับ 2 ร้อยละ 4.4 ความรุนแรงระดับ 3 ร้อยละ 63.9 และความรุนแรงระดับ 4 ร้อยละ 31.7 คะแนนความรุนแรงเฉลี่ย 3.3±0.5 ความรุนแรงของสภาวะฟันสึกโดยใช้ดัชนี BEWE พบกลุ่มตัวอย่างที่มีระดับความรุนแรง 3 ร้อยละ 94.2 และระดับความรุนแรง 2 ร้อยละ 5.8 การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างระดับความรุนแรงของสภาวะฟันลึกและปัจจัยเสี่ยง พบว่า เพศ ช่วงอายุ และอัตราการหลั่งของน้ำลายมีความสัมพันธ์กับระดับความรุนแรงของสภาวะฟันสึก ผลจากการศึกษาครั้งนี้แสดงให้เห็นว่า พบความชุก ความรุนแรงของฟันสึกได้ในระดับที่สูงมาก และมีหลายปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการเกิดสภาวะฟันสึก จึงเป็นเรื่องที่ควรแก้ไขอย่างเร่งด่วน ซึ่งสภาวะฟันสึกสามารถป้องกันได้ ดังนั้น ควรมีการเฝ้าระวัง รวมทั้งการป้องกัน โดยสร้างความตระหนัก และชี้ให้เห็นความสำคัญและผลกระทบจากปัญหาฟันสึก ผลการศึกษาพบกลุ่มตัวอย่างที่ทำการศึกษา 385 คน อายุเฉลี่ย 54.3±9.9 ปี ความชุกของฟันสึกชนิด abrasion ร้อยละ 99.2 ฟันสึกชนิด erosion ร้อยละ 80.8 และฟันสึกชนิด attrition ร้อยละ 57.9 ความรุนแรงของสภาวะฟันสึกโดยใช้ดัชนี Smith and Knight TWI พบความรุนแรงระดับ 2 ร้อยละ 4.4 ความรุนแรงระดับ 3 ร้อยละ 63.9 และความรุนแรงระดับ 4 ร้อยละ 31.7 คะแนนความรุนแรงเฉลี่ย 3.3±0.5 ความรุนแรงของสภาวะฟันสึกโดยใช้ดัชนี BEWE พบกลุ่มตัวอย่างที่มีระดับความรุนแรง 3 ร้อยละ 94.2 และระดับความรุนแรง 2 ร้อยละ 5.8 การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างระดับความรุนแรงของสภาวะฟันลึกและปัจจัยเสี่ยง พบว่า เพศ ช่วงอายุ และอัตราการหลั่งของน้ำลายมีความสัมพันธ์กับระดับความรุนแรงของสภาวะฟันสึก ผลจากการศึกษาครั้งนี้แสดงให้เห็นว่า พบความชุก ความรุนแรงของฟันสึกได้ในระดับที่สูงมาก และมีหลายปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการเกิดสภาวะฟันสึก จึงเป็นเรื่องที่ควรแก้ไขอย่างเร่งด่วน ซึ่งสภาวะฟันสึกสามารถป้องกันได้ ดังนั้น ควรมีการเฝ้าระวัง รวมทั้งการป้องกัน โดยสร้างความตระหนัก และชี้ให้เห็นความสำคัญและผลกระทบจากปัญหาฟันสึกen_US
Appears in Collections:GRAD-Health Sciences: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Abstract.docAbstract (words)192 kBMicrosoft WordView/Open
ABSTRACT.pdfAbstract 180.57 kBAdobe PDFView/Open
FULL.pdfFull IS3.22 MBAdobe PDFView/Open


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.