Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/46052
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorยงยุทธ ยะบุญธง-
dc.contributor.advisorชูชีพ พุทธประเสริฐ-
dc.contributor.authorจตุพร ชินะใจen_US
dc.date.accessioned2018-04-09T09:35:53Z-
dc.date.available2018-04-09T09:35:53Z-
dc.date.issued2558-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/46052-
dc.description.abstractThis independent study has 2 objectives which are 1) to analysis for results the third External Quality Assessment of Small Educational Institutions, Fang District, Chiang Mai Province and 2) to study the guidelines for Internal Quality Assurance System Implementation for Supporting the Fourth External Quality Assessment of Small Educational Institutions, Fang District, Chiang Mai Province. There are 3 steps for this study which are 1) analysis for results of the third External Quality Assessment of Small Educational Institutions, Fang District, Chiang Mai Province. The datas source for this study were the 14 papers of the results third External Quality Assessment of Small Educational Institutions, Fang District, Chiang Mai Province, on 2014. The tools used in this study was analysis papers and the data was analyzed by using frequency average and sequence. 2) study and draft the guidelines of Internal Quality Assurance System Implementation for Supporting the Fourth External Quality Assessment of Small Educational Institutions, Fang District, Chiang Mai Province. The population for this study was the directors, teacher, person and supervisors who make for Internal Quality Assurance System of the school which were the total population of 15 people. The tool used for this study was interview and the data was analyzed by ช inductive inference. 3)examine the guidelines of Internal Quality Assurance System Implementation for Supporting the Fourth External Quality Assessment of Small Educational Institutions, Fang District, Chiang Mai Province. The populations for this study were the experts, the school administrators, the supervisor and the External Quality assessor which were the total population of 7 people. The tools used in this study were the examination form of possibility, suitability, and usefulness. The data was analyzed by using average and standard deviation. From the study, it found that the problem for Internal Quality Assurance System of Small Educational Institutions, Fang District, Chiang Mai Province in the score and quality are poor level. The distinctive point of the Small Educational Institutions, Fang District, Chiang Mai Province were a few for did by Ministerial regulations of Internal Quality Assurance System, on 2011.The weaknesses and the suggestion for found that problem of the information of IT. about Internal Quality Assurance System, so they should were systematize for planning and used the Technology when they did the Internal Quality Assurance System. The auditing result to study the guidelines for Internal Quality Assurance System Implementation for Supporting the Fourth External Quality Assessment of Small Educational Institutions, Fang District, Chiang Mai Province were matching for the flag of the Fourth External Quality Assessment and the possibility, suitability and usefulness about Guidelines for Internal Quality Assurance System Implementation for Supporting the Fourth External Quality Assessment of Small Educational Institutions, Fang District, Chiang Mai Province was in the highest level.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectประกันคุณภาพการศึกษาen_US
dc.subjectการประเมินคุณภาพภายนอกen_US
dc.subjectสถานศึกษาขนาดเล็กen_US
dc.titleแนวทางการดำเนินงานตามระบบประกันคุณภาพภายในเพื่อรองรับการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่ ของสถานศึกษาขนาดเล็ก อำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeGuidelines for Internal Quality Assurance System Implementation for Supporting the Fourth External Quality Assessment of Small Educational Institutions, Fang District, Chiang Mai Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.classification.ddc371.2-
thailis.controlvocab.thashประกันคุณภาพการศึกษา -- ฝาง (เชียงใหม่)-
thailis.controlvocab.thashโรงเรียน -- ฝาง (เชียงใหม่)-
thailis.manuscript.callnumberว/ภน 371.2 จ144น-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการค้นคว้าแบบอิสระนี้ มีวัตถุประสงค์ 2 ข้อคือ 1)เพื่อวิเคราะห์ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ของสถานศึกษาขนาดเล็กในอาเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ 2)เพื่อศึกษาแนวทางการดาเนินงานตามระบบประกันคุณภาพภายใน เพื่อรองรับการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่ของสถานศึกษาขนาดเล็ก อาเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ ซึ่งมีขั้นตอนการศึกษา 3 ขั้นตอนคือ 1.การวิเคราะห์ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม แหล่งข้อมูลที่ใช้ คือเอกสารรายงานผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา คือแบบสังเคราะห์เอกสารวิเคราะห์ข้อมูลโดยการสังเคราะห์และสรุปโดยใช้สถิติความถี่ ร้อยละ และเรียงลาดับ 2. การร่างแนวทางการดาเนินงานตามระบบประกันคุณภาพภายใน เพื่อรองรับประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่ ประชากรที่ใช้คือผู้บริหารสถานศึกษา ครู และบุคลากรทางการศึกษาผู้รับผิดชอบงานด้านประกันคุณภาพการศึกษาในสถานศึกษาขนาดเล็ก จานวน 4 แห่ง และเป็นศึกษานิเทศก์ที่รับผิดชอบงานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา เชียงใหม่เขต 3 จานวน 3 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา คือแบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง วิเคราะห์ข้อมูลโดยการสรุปอุปนัย และ 3. การตรวจสอบร่างแนวการดาเนินงานตามระบบประกันคุณภาพภายในเพื่อรองรับประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่ ประชากรที่ใช้ในการศึกษา คือผู้ประเมินภายนอกของสานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา(องค์การมหาชน) ศึกษานิเทศก์ผู้รับผิดชอบงานด้านการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา จ วิทยฐานะเชี่ยวชาญ และเป็นผู้อานวยการสถานศึกษาในจังหวัดเชียงใหม่ วิทยฐานะเชี่ยวชาญ เพื่อตรวจสอบความเป็นไปได้ ความเหมาะสม และความเป็นประโยชน์ เป็นแบบตรวจสอบรายการ (Check list) 5 ระดับ ในการปฏิบัติแนวทางที่สร้างขึ้น วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษาพบว่าการวิเคราะห์ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ของสถานศึกษาขนาดเล็กในอาเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ ในข้อมูลที่ปรากฏตามเอกสารผลการรายงานการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสามด้านคะแนนเฉพาะในตัวบ่งชี้ที่ 8 พบว่าโดยรวมอยู่ในระดับคุณภาพพอใช้ ด้านจุดเด่นพบว่ามีสถานศึกษาส่วนน้อยที่จัดให้มีการพัฒนาตามระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาตามกฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษาพุทธศักราช 2553 ด้านจุดด้อยหรือจุดที่ควรพัฒนา และข้อเสนอแนะพบว่าส่วนใหญ่ขาดการบริหารจัดการข้อมูลสารสนเทศเพื่อการประกันคุณคุณภาพ ดังนั้นสถานศึกษาควรมีการพัฒนา วางแผน และจัดระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาให้ชัดเจน โดยส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการใช้ระบบสารสนเทศเข้ามามีส่วนช่วย และจัดเก็บข้อมูลให้ครบถ้วน และครอบคลุมการดาเนินงานตามแผนงานที่วางไว้ ผลการศึกษาแนวทางการดาเนินงานตามระบบประกันคุณภาพภายในเพื่อรองรับการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่ของสถานศึกษาขนาดเล็ก อาเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่นั้นมีความสอดคล้องกับตัวบ่งชี้ และเกณฑ์การประเมินคุณภาพภายนอกระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานรอบสี่ การตรวจสอบความเป็นไปได้ ความเหมาะสม และความเป็นประโยชน์ พบว่าโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุดen_US
Appears in Collections:EDU: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
2. ABSTRACT.docAbstract (words)198.5 kBMicrosoft WordView/Open    Request a copy
ABSTRACT.pdfAbstract262.03 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
full.pdfFull IS4.86 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.