Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/46025
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ทศพร คำผลศิริ | - |
dc.contributor.advisor | ลินจง โปธิบาล | - |
dc.contributor.author | กุลธิดาพร กีฬาแปง | en_US |
dc.date.accessioned | 2018-04-09T02:43:18Z | - |
dc.date.available | 2018-04-09T02:43:18Z | - |
dc.date.issued | 2557-09 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/46025 | - |
dc.description.abstract | Cerebrovascular disease, or stroke, is an acute neurological deficit. Survivors will have disabilities which place limitations on their activities of daily living (ADL) and impacts their well-being also. Caregivers have an important role in caring for their elderly stroke affected patients. The purpose of this experimental research was to evaluate the effects of information and emotional supports provided to caregivers relating to activities of daily living and well-being among the elderly with stroke and during rehabilitation phase. Subjects were caregivers and elderly with stroke who were admitted at medical and rehabilitation wards,MaharajNakorn Chiang Mai Hospital during May 2014 to July 2014. Fifty-one subjects were randomly assigned into control and experimental groups; 26 persons in the control group and 25 persons in the experimental group. The subjects in the experimental group received care according to information and emotional supports for caregivers, while those in the control group received routine support. Research instruments consisted of; 1) the information and emotional supports for caregivers plan, 2) the handbook for the caring of elderly stroke patients at home, and 3) vediotape of caring for paralysis patients due to stroke. The assessment tools consisted of Assessment Form of ADL Stroke Patients and Assessment Form of Well-being Ladder Scale. Data were analyzed by using descriptive statistics, independent t- test, and paired t - test. Research results revealed that: 1. The activities of daily living score of the experimental group was statistically significantly higher than that of the control group (p < .001); and 2. The well-being score of the experimental group was statistically significantly higher than that of the control group (p < .001) The results from this study indicated that information and emotional supports provided to caregivers could enhance activities of daily living and well-being among elderly with stroke. The researcher recommends that the information and emotional supports for caregivers should be used as a guideline in caring to help the elderly with stroke to enhance activities of daily living and their well-being effectively. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | การสนับสนุน | en_US |
dc.subject | กิจวัตรประจำวัน | en_US |
dc.subject | ความผาสุก | en_US |
dc.subject | ผู้สูงอายุ | en_US |
dc.subject | โรคหลอดเลือดสมอง | en_US |
dc.title | ผลของการสนับสนุนผู้ดูแลด้านข้อมูลและด้านอารมณ์ต่อการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันและความผาสุกของผู้สูงอายุที่เป็นโรคหลอดเลือดสมองในระยะฟื้นฟูสภาพ | en_US |
dc.title.alternative | Effects of Information and Emotional Supports for Caregivers on Activities of Daily Living and Well-being Among the Elderly with Stroke During Rehabilitation Phase | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.classification.nlmc | W 4 | - |
thailis.controlvocab.mesh | Emotions | - |
thailis.controlvocab.mesh | Activities of daily living | - |
thailis.controlvocab.mesh | Stroke -- rehabilitation | - |
thailis.controlvocab.mesh | Elderly | - |
thailis.manuscript.callnumber | W 4 ก247ผ 2557 | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | โรคหลอดเลือดสมองเป็นความผิดปกติทางระบบประสาทอย่างเฉียบพลัน ผู้ป่วยที่รอดชีวิตมักจะมีความพิการหลงเหลืออยู่ มีข้อจำกัดในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน และส่งผลกระทบต่อความผาสุก ผู้ดูแลมีบทบาทสำคัญในการช่วยเหลือดูแลผู้ป่วย การวิจัยเชิงทดลองครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการสนับสนุนผู้ดูแลด้านข้อมูลและด้านอารมณ์ต่อการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันและความผาสุกของผู้สูงอายุที่เป็นโรคหลอดเลือดสมองในระยะฟื้นฟูสภาพ กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้สูงอายุโรคหลอดเลือดสมองและผู้ดูแล ที่เข้ารับการรักษาในหอผู้ป่วยอายุรกรรม และหอผู้ป่วยฟื้นฟูสภาพ แผนกผู้ป่วยในโรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ ตั้งแต่เดือนพฤษภาคม 2557 ถึงเดือนกรกฏาคม 2557 คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบการสุ่มเข้ากลุ่มอย่างง่ายจำนวน 51 ราย แบ่งเป็นกลุ่มควบคุม 26 ราย และกลุ่มทดลอง 25 ราย กลุ่มทดลองผู้ดูแลได้รับการสนับสนุนด้านข้อมูลและด้านอารมณ์จากผู้วิจัย และกลุ่มควบคุมผู้ดูแลได้รับการสนับสนุนตามปกติ เครื่องมือที่ใช้ดำเนินการวิจัยประกอบด้วย 1) แผนกิจกรรมการสนับสนุนผู้ดูแลด้านข้อมูลและด้านอารมณ์ 2) คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองที่บ้าน 3)วีดีทัศน์เรื่องการดูแลผู้ป่วยอัมพาตจากโรคหลอดเลือดสมอง และเครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูลประกอบด้วย แบบประเมินความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง และแบบวัดความผาสุก วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณา สถิติทดสอบค่าทีชนิดสองกลุ่มที่เป็นอิสระต่อกัน และสถิติทดสอบค่าทีชนิดสองกลุ่มที่สัมพันธ์กัน ผลการวิจัยพบว่า 1. การปฏิบัติกิจวัตรประจำวันของผู้สูงอายุโรคหลอดเลือดสมองกลุ่มที่ได้รับการสนับสนุนผู้ดูแลด้านข้อมูลและด้านอารมณ์ ดีกว่ากลุ่มที่ได้รับการสนับสนุนตามปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .001) 2. ความผาสุกทางใจของผู้สูงอายุโรคหลอดเลือดสมองกลุ่มที่ได้รับการสนับสนุนผู้ดูแลด้านข้อมูลและด้านอารมณ์ มากกว่ากลุ่มที่ได้รับการสนับสนุนตามปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .001) ผลการวิจัยแสดงให้เห็นว่าผลของการสนับสนุนผู้ดูแลด้านข้อมูลและด้านอารมณ์ ช่วยเพิ่มความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันและความผาสุกของผู้สูงอายุโรคหลอดเลือดสมอง ผู้วิจัยเสนอแนะว่า การสนับสนุนผู้ดูแลด้านข้อมูลและด้านอารมณ์สามารถนำไปใช้เป็นแนวทางในการดูแล เพื่อช่วยให้ผู้สูงอายุโรคหลอดเลือดสมองสามารถปฏิบัติกิจวัตรประจำวันและมีความผาสุกเพิ่มขึ้น | en_US |
Appears in Collections: | NURSE: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
ABSTRACT.pdf | ABSTRACT | 162.95 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
APPENDIX.pdf | APPENDIX | 580.17 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
CHAPTER 1.pdf | CHAPTER 1 | 223.25 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
CHAPTER 2.pdf | CHAPTER 2 | 551.1 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
CHAPTER 3.pdf | CHAPTER 3 | 289.94 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
CHAPTER 4.pdf | CHAPTER 4 | 453.01 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
CHAPTER 5.pdf | CHAPTER 5 | 173.18 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
CONTENT.pdf | CONTENT | 148.93 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
COVER.pdf | COVER | 611.32 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
REFERENCE.pdf | REFERENCE | 283.37 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.