Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/46001
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | จณิษฐ์ เฟื่องฟู | - |
dc.contributor.author | กนกพร เล็งศรี | en_US |
dc.date.accessioned | 2018-04-05T02:47:25Z | - |
dc.date.available | 2018-04-05T02:47:25Z | - |
dc.date.issued | 2557-10 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/46001 | - |
dc.description.abstract | This thesis investigates Isan identities in Phai Phongsathorn’s luk-thung songs. It employs the concept of “identity” as a key analytical tool in its examination of 45 songs from 7 albums by Phai Phongsathorn from 2005 to 2012. The thesis comprises six chapters. Chapter one is an introduction. Chapter two offers the background knowledge about luk-thung songs and luk-thung Isan songs. Chapter three analyses “Isan” as a discourse. Chapter four and five examine Phai Phongsathorn’s songs by topics. Chapter four discusses Isan people and their relationship with traditional values as well as value negotiation. Chapter five focuses on Isan people and their fighting spirit. Chapter six offer a conclusion of the study and suggestions for future studies. The analyses of Isan identities in Phai Phongsathorn’s luk-thung songs show that identity of Isan people is adaptable to the changing time, mode of production and social changes. Isan identity is, therefore, dynamic and adjustable to factors such as economic necessities and changing means of livelihood which present Isan communities and cultures with new challenges. The dynamism and ability to adapt to a new social environment as shown in Phai Phongsathorn’s songs prove that Isan identities are resulted from the process of selection, negotiation and making use of traditional values as cultural capital in order to lead one’s life in an ever changing society. More importantly, Isan identities studied here resist prejudices against and deprecation for Isan people from some sectors of the society. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | อัตลักษณ์ | en_US |
dc.subject | เพลงลูกทุ่ง | en_US |
dc.subject | ไผ่ พงศธร | en_US |
dc.title | อัตลักษณ์อีสานในเพลงลูกทุ่งของ ไผ่ พงศธร | en_US |
dc.title.alternative | Isan Identities in Phai Phongsathorn’s Luk-thung Songs | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.classification.ddc | 781.62 | - |
thailis.controlvocab.thash | เพลงลูกทุ่ง | - |
thailis.controlvocab.thash | เพลงพื้นเมืองไทย | - |
thailis.manuscript.callnumber | ว 781.62 ก151อ | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | วิทยานิพนธ์เล่มนี้มีจุดมุ่งหมายในการศึกษาวิเคราะห์อัตลักษณ์อีสานในเพลงลูกทุ่งของ ไผ่ พงศธร โดยใช้มโนทัศน์อัตลักษณ์ในการศึกษาวิเคราะห์เพลงทั้งหมด 45 เพลง จากผลงานเพลง 7 ชุด ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2548 – พ.ศ. 2555 วิทยานิพนธ์แบ่งการศึกษาเป็น 6 บท ได้แก่ บทที่ 1 บทนำ บทที่ 2 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเพลงลูกทุ่งและเพลงลูกทุ่งอีสาน บทที่ 3 วาทกรรม “ว่าด้วยอีสาน” บทที่ 4 คนอีสานกับคุณค่าเชิงจารีตและการต่อรองเชิงคุณค่า บทที่ 5 คนอีสานกับการต่อสู้ และบทที่ 6 บทสรุปและข้อเสนอแนะ ผลการศึกษาวิเคราะห์อัตลักษณ์อีสานในเพลงลูกทุ่งของ ไผ่ พงศธร แสดงให้เห็นอัตลักษณ์ของชาวอีสานที่มีการปรับเปลี่ยนตามยุคตามสมัย ตามวิถีการผลิตและสภาพสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป อัตลักษณ์อีสานจึงเป็นอัตลักษณ์ที่มีพลวัตและปรับตัวไปตามเงื่อนไขต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นความบีบคั้นทางเศรษฐกิจและการเปลี่ยนแปลงวิถีการผลิตอันทำให้วัฒนธรรมและชุมชนของชาวอีสานเผชิญหน้ากับความท้าทายใหม่ๆ ที่เกิดขึ้น ความมีพลวัตและความสามารถในการปรับตัวต่อสภาพแวดล้อมทางสังคมใหม่ๆ ตามที่ปรากฏในเพลงของ ไผ่ พงศธรนี้ ถ่ายทอดให้เห็นถึงอัตลักษณ์อีสานที่สามารถเลือกใช้และต่อรองกับคุณค่าเชิงจารีตแบบเดิมในฐานะต้นทุนทางวัฒนธรรมเพื่อการดำเนินชีวิตในสังคมที่เปลี่ยนแปลงอย่างไม่เคยหยุดนิ่งได้อย่างดี ที่สำคัญอัตลักษณ์อีสานที่ปรากฏในเพลงของ ไผ่ พงศธร ยังแสดงถึงการต่อสู้กับอคติและการถูกทำให้ด้อยกว่าในสายตาของคนบางส่วนในสังคมอีกด้วย | en_US |
Appears in Collections: | HUMAN: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
ABSTRACT.pdf | ABSTRACT | 188.16 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
APPENDIX .pdf | APPENDIX | 467.1 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
CHAPTER 1.pdf | CHAPTER 1 | 374.91 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
CHAPTER 2.pdf | CHAPTER 2 | 234.9 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
CHAPTER 3.pdf | CHAPTER 3 | 468.71 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
CHAPTER 4.pdf | CHAPTER 4 | 569.89 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
CHAPTER 5.pdf | CHAPTER 5 | 651.75 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
CHAPTER 6.pdf | CHAPTER 6 | 174.03 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
CONTENT.pdf | CONTENT | 225.89 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
COVER.pdf | COVER | 553.53 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
REFERENCE.pdf | REFERENCE | 419.16 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.