Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/45895
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ชูชีพ พุทธประเสิรฐ | - |
dc.contributor.advisor | ยงยุทธ ยะบุญธง | - |
dc.contributor.author | การุณ เชิดชู | en_US |
dc.date.accessioned | 2018-03-21T09:23:38Z | - |
dc.date.available | 2018-03-21T09:23:38Z | - |
dc.date.issued | 2557-10 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/45895 | - |
dc.description.abstract | The objective of this study is to study the problem and the improvement guideline including to the development guideline for procedure development according to the system of taking care and helping students in Phrao Wittayakom school, Phrao district, Chiang Mai province. There are 3 procedures of the study; the first procedure was to study the problem and improvement guideline of the procedure development according to the system of taking care and helping students in Phrao Wittayakom school. The sample for this study were educational institute administrators, teachers, educational staff, and parents of Phrao Wittayakom school, Chiang Mai province. The tool for this study were questionnaires. The data was analyzed by means and standard deviation values. The second step was to draft the development guideline of procedure development according to the system of taking care and helping students in Phrao Wittayakom school, Chiang Mai province. The sample for this step were specific which were the expert, people who responsible to educational procedure and the system of taking care and helping students, 9 of them. The tool for this step were focus group discussion, data analyze, analyze interpretation, synthesis and the summary of the focus group discussion. The third step was to examine the draft of development guideline for procedure development according to the system of taking care and helping students in Phrao Wittayakom school. The objective of this step was to examine the draft from the second step. The sample for this step were university teachers who have experience in taking care and helping students, administrators, teacher who responsible to the taking care and helping students system from the school and the experts of taking care and helping students, 5 of them. the tool for this step were the check form of appropriate level of possibility, appropriate and productivity. The data was analyzed by using the value of means and standard deviation. It was found that the problem of procedure of taking care and helping students system overall was in moderate level and when considering one by one it was found that 1) students promotion, the overall was in moderate level and the point that have the highest value was the school provided less the opportunity to the student to participate in determination of rules and regulations for any activities. The improvement guideline was to adjust the plan to be more appropriate, usable and everyone must follow the plan. The suggestion was to have the student know themselves, thing positively and be optimistic. 2) Prevention and solving the problem overall was in moderate level. The point that had the highest value was the school provided less activity of friend supporting friend. the solution for this problem was to have more cooperation between the taking care and helping students system, homeroom teacher and parents. they should have checked all documents and solving the problem more seriously. the suggestion was to have the students be more optimistic, helping one another and sacrifice to the society. For the development guideline for procedure development according to the system of taking care and helping students, it was found that 1) student promotion must improve procedure plan to be more appropriate and usable and 2) the prevention and solving the problem must provide more activities which the students are interested, have the student have more participation in helping one another, encourage them and hold some seminar to provide more knowledge of taking care and helping student in each level. The possibility examination, appropriate and productivity of the development guideline for procedure development according to the system of taking care and helping students in Phrao Wittayakom school, Phrao district, Chiang Mai province were in the highest level, over the determined standards. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | การดำเนินงานตามระบบ | en_US |
dc.subject | นักเรียน | en_US |
dc.subject | โรงเรียนพร้าววิทยาคม | en_US |
dc.title | การพัฒนาการดำเนินงานตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน โรงเรียนพร้าววิทยาคม อำเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่ | en_US |
dc.title.alternative | Procedure Development According to the System of Taking Care and Helping Students in Phrao Wittayakom School, Phrao District, Chiang Mai Province | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thailis.classification.ddc | 371.2 | - |
thailis.controlvocab.thash | โรงเรียนพร้าววิทยาคม | - |
thailis.controlvocab.thash | การบริหารการศึกษา | - |
thailis.controlvocab.thash | นักเรียน -- การดูแล | - |
thailis.controlvocab.thash | นักเรียน -- เชียงใหม่ | - |
thailis.manuscript.callnumber | ว/ภน 371.2 ก274ก | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาปัญหาและแนวทางแก้ไขรวมทั้งแนวทางการพัฒนา การดำเนินงานตามระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนโรงเรียนพร้าววิทยาคม จังหวัดเชียงใหม่ มีขั้นตอนการศึกษา 3 ขั้นตอน คือ ขั้นตอนที่ 1 การศึกษาปัญหาและแนวทางแก้ไขการดำเนินงานตาม ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน ของโรงเรียนพร้าววิทยาคม ประชากรที่ใช้ในการวิจัยศึกษา คือ ผู้บริหารสถานศึกษา ครูและบุคลากรทางการศึกษา ผู้ปกครองนักเรียนของโรงเรียนพร้าววิทยาคม จังหวัดเชียงใหม่ เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ยและ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ขั้นตอนที่ 2 การร่างแนวทางการพัฒนาการดำเนินงานตามระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน โรงเรียนพร้าววิทยาคม จังหวัดเชียงใหม่ ประชากรที่ใช้ในการวิจัยเลือกแบบเจาะจง ได้แก่ ผู้ทรงคุณวุฒิและผู้รับผิดชอบงานด้านการศึกษา และด้านระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน จำนวน 9 คน เครื่องมือโดยใช้ การสนทนาแบบกลุ่ม (Focus Group Discussion) วิเคราะห์ข้อมูล การตีความหมายในรูปแบบของการวิเคราะห์ การสังเคราะห์ และสรุปตามประเด็น การสนทนากลุ่ม และ ขั้นตอนที่ 3 การตรวจสอบร่างแนวทางการพัฒนาการดำเนินงานตามระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน ของโรงเรียนพร้าววิทยาคม มีวัตถุประสงค์เพื่อตรวจสอบร่างแนวทาง การพัฒนาการดำเนินงานตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน จากขั้นตอนที่ 2 ประชากรที่ใช้ในการวิจัยคือ อาจารย์มหาวิทยาลัยที่มีประสบการณ์งานระบบดูแลช่วยเหลือ ผู้บริหารและครูที่รับผิดชอบงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนจากโรงเรียน และผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์ ด้านระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน จำนวน 5 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบตรวจสอบระดับเป็นไปได้ ความเหมาะสมและความเป็นประโยชน์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษาพบว่าปัญหาการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า 1) ด้านการส่งเสริมนักเรียน โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง โดยประเด็นที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ โรงเรียนเปิดโอกาสให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการกำหนดกติการะเบียบข้อบังคับต่าง ๆ ในการจัดกิจกรรมตามโอกาสน้อย แนวทางแก้ไขปัญหา คือ ควรปรับแผนให้มีความเหมาะสม สามารถใช้ได้จริงและต้องปฏิบัติตามแผนที่วางไว้ ข้อเสนอแนะ คือ ควรให้เด็กรู้จักตนเองและคิดบวก มองโลกในแง่ดี และ 2) ด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหา มีปัญหาโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง โดยประเด็นที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ โรงเรียนจัดกิจกรรมเพื่อนช่วยเพื่อนน้อย แนวทางแก้ไขปัญหา คือ ควรมีการประสานงานกันระหว่างงานดูแล ครูประจำชั้นและ ผู้ปกครอง ควรตรวจสอบเอกสาร และจัดการแก้ปัญหาอย่างจริงจัง ข้อเสนอแนะ คือ ควรให้นักเรียนมองโลกในทางบวก ให้รู้จักการให้ช่วยเหลือคนที่ด้อยกว่าและรู้จักการเสียสละ เพื่อส่วนรวม สำหรับแนวทางการพัฒนาการดำเนินงานตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน พบว่า 1) ด้านการส่งเสริมนักเรียน ปรับแผนการดำเนินงานให้เหมาะสมและให้สามารถใช้ได้จริง และ 2) ด้านการป้องกันและแก้ไข คือ จัดกิจกรรมที่นักเรียนมีความสนใจ นักเรียนมีส่วนร่วมในการช่วยเหลือกัน มีการสร้างขวัญ กำลังใจและความเชื่อมั่น และจัดอบรมให้ความรู้แก่นักเรียนตามระดับชั้นในเรื่องการช่วยเหลือนักเรียน ผลการตรวจสอบความเป็นไปได้ ความเหมาะสม และความเป็นประโยชน์ของแนวทาง การพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน โรงเรียนพร้าววิทยาคม อำเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่ พบว่าอยู่ในระดับมากที่สุดสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดไว้ | en_US |
Appears in Collections: | EDU: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
ABSTRACT.pdf | ABSTRACT | 243.09 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
APPENDIX.pdf | APPENDIX | 5.22 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
CHAPTER 1.pdf | CHAPTER 1 | 262.62 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
CHAPTER 2.pdf | CHAPTER 2 | 460.78 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
CHAPTER 3.pdf | CHAPTER 3 | 381.15 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
CHAPTER 4.pdf | CHAPTER 4 | 939.04 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
CHAPTER 5.pdf | CHAPTER 5 | 267.04 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
CONTENT.pdf | CONTENT | 244.29 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
COVER.pdf | COVER | 659.38 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
REFERENCE.pdf | REFERENCE | 241.4 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.