Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/45836
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | กนกพร สุคำวัง | - |
dc.contributor.author | รัชนี ศรเจียงคำ | en_US |
dc.date.accessioned | 2018-03-13T01:56:02Z | - |
dc.date.available | 2018-03-13T01:56:02Z | - |
dc.date.issued | 2557-09 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/45836 | - |
dc.description.abstract | Early-stage dementia is a common health problem among the elderly. The first and most prominent symptom of early-stage dementia is recent memory loss. Regular memory training can improve recent memory loss and delay memory loss of the elderly. This operational study implemented the memory training program of Wilaiwan Chaiwong (2005) and applied the implementation model guidelines from the Ontario Nurses' Association of Canada (Registered Nurses Association of Ontario [RNAO], 2012). The population of this study was a health care team of 5 people including; 1 doctor, 2 nurses, 1 psychologist and 1 patient helper. A sample group of 30 elderly people was purposively recruited and divided into two groups; 15 elderly received the memory training program and 15 who did not received the program. The research instruments comprised of the demographic data recording form for elderly with early-stage dementia and health care team, a memory scale, and satisfaction questionnaire to measure elderly with early-stage dementia and the health care team’s satisfaction of program implementation. The effectiveness of the memory program was evaluated through the memory level of the elderly with early-stage dementia on the first day and at 2 weeks, compared with the elderly with early-stage dementia who did not receive the program. The results of this study revealed that: 1. Thirteen from 15 (86.66%) of elderly with early-stage dementia who received the memory training program were able to increase their memory level at the first day and 2 weeks, while only 2 from 15 (13.33%) of elderly who did not receive the program were able to improve their memory level at the first day and at 2 weeks 2. All of the elderly with early-stage dementia receiving the memory training program reached a high level of satisfaction 3. All of the health care team was satisfied with the memory training program implementation at a high level The results of this study showed that the memory training program could improve memory of the elderly with early-stage dementia. Therefore, the program should be provided in memory clinics for this purpose. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | โปรแกรมฝึกความจำ | en_US |
dc.subject | ภาวะสมองเสื่อม | en_US |
dc.subject | คลินิกความจำ | en_US |
dc.subject | โรงพยาบาลลำปาง | en_US |
dc.title | ประสิทธิผลของการใช้โปรแกรมฝึกความจำในผู้สูงอายุที่มีภาวะสมองเสื่อมระยะแรกในคลินิกความจำ โรงพยาบาลลำปาง | en_US |
dc.title.alternative | Effectiveness of Memory Training Program Implementation Among Elderly with Early - stage Dementia, Memory Clinic, Lampang Hospital | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thailis.classification.nlmc | W 4 | - |
thailis.controlvocab.mesh | Dementia -- in old age | - |
thailis.controlvocab.mesh | Aging | - |
thailis.manuscript.callnumber | W 4 ร212ป 2557 | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | ภาวะสมองเสื่อมระยะแรก เป็นกลุ่มอาการที่เป็นปัญหาสุขภาพในผู้สูงอายุ โดยมีอาการเด่นชัดที่สุดคือ อาการหลงลืมสูญเสียความจำเป็นระยะ การได้รับการฝึกความจำอย่างสม่ำเสมอ จะช่วยส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีความจำดีขึ้น สามารถชะลอการสูญเสียความจำของผู้สูงอายุได้ การศึกษาเชิงปฏิบัติการนี้ใช้โปรแกรมฝึกความจำผู้สูงอายุที่มีภาวะสมองเสื่อมระยะแรกของ วิลาวัณย์ ไชยวงค์ (2548) โดยประยุกต์ขั้นตอนการนำแนวปฏิบัติไปใช้ในคลินิกของสมาคมพยาบาลออนตาริโอ ประเทศแคนาดา( Registered Nurses Association of Ontario: RNAO, 2012) ประชากรคือ ทีมผู้ดูแลจำนวน 5 คน ประกอบด้วย แพทย์ 1 คน พยาบาล 2 คน นักจิตวิทยา 1 คน และผู้ช่วยเหลือคนไข้ 1 คน กลุ่มตัวอย่างคือผู้สูงอายุที่มีภาวะสมองเสื่อมระยะแรก เลือกแบบเฉพาะเจาะจงจำนวน 30 ราย แบ่งออกเป็นกลุ่มใช้โปรแกรมฝึกความจำ และกลุ่มไม่ใช้โปรแกรมฝึกความจำ กลุ่มละ 15 ราย เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาประกอบไปด้วย แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคลของผู้สูงอายุที่มีภาวะสมองเสื่อมในระยะแรก แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคลของทีมผู้ดูแล และแบบวัดความจำ ประเมินประสิทธิผลของการใช้โปรแกรมโดยเปรียบเทียบสัดส่วนความสามารถในการจำของกลุ่มตัวอย่างที่ได้รับโปรแกรมฝึกความจำ กับกลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติที่ 1 วัน และ 2 สัปดาห์ และประเมินความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่างที่ใช้โปรแกรมและทีมผู้ดูแลโดยใช้แบบประเมินความพึงพอใจ ผลการศึกษาครั้งนี้พบว่า 1. กลุ่มตัวอย่างผู้สูงอายุที่มีภาวะสมองเสื่อมระยะแรก ที่ได้รับโปรแกรมฝึกความจำ มีความสามารถในการจำเพิ่มขึ้นใน 1 วัน และ 2 สัปดาห์ภายหลังได้รับโปรแกรม 13 คน จาก 15 คนร้อยละ 86.66 ในขณะที่กลุ่มผู้สูงอายุที่ไม่ใช้โปรแกรมฝึกความจำความสามารถในการจำที่ 1 วันเพิ่มขึ้น 2 คนจาก 15 คน ร้อยละ 13.33 และทุกคนความจำไม่เพิ่มขึ้นในการติดตาม 2 สัปดาห์ 2. ผู้สูงอายุที่มีภาวะสมองเสื่อมระยะแรกที่ได้รับโปรแกรมทั้งหมดร้อยละ 100 มีความพึงพอใจต่อการได้รับโปรแกรมฝึกความจำในระดับมาก 3. ทีมผู้ดูแลทั้งหมดร้อยละ 100 มีความพึงพอใจต่อการนำโปรแกรมฝึกความจำไปใช้ ในระดับมาก ผลการศึกษาครั้งนี้แสดงให้เห็นว่า โปรแกรมฝึกความจำสามารถเพิ่มความสามารถในการจำในผู้สูงอายุที่มีภาวะสมองเสื่อมระยะแรกได้ จึงควรนำโปรแกรมนี้ไปใช้ในการส่งเสริมความสามารถในการจำในผู้สูงอายุที่มีภาวะสมองเสื่อมระยะแรกในคลินิกต่อไป | en_US |
Appears in Collections: | NURSE: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
ABSTRACT.pdf | ABSTRACT | 153.34 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
APPENDIX.pdf | APPENDIX | 663.23 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
CHAPTER 1.pdf | CHAPTER 1 | 248.19 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
CHAPTER 2.pdf | CHAPTER 2 | 338.68 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
CHAPTER 3.pdf | CHAPTER 3 | 236.85 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
CHAPTER 4.pdf | CHAPTER 4 | 479.79 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
CHAPTER 5.pdf | CHAPTER 5 | 231.66 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
CONTENT.pdf | CONTENT | 224.59 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
COVER.pdf | COVER | 482.38 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
REFERENCE.pdf | REFERENCE | 212.93 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.