Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/43395
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอลงกรณ์ คูตระกูล-
dc.contributor.authorชวนพิศ ชัยประยูรen_US
dc.date.accessioned2017-12-18T06:59:03Z-
dc.date.available2017-12-18T06:59:03Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/43395-
dc.description.abstractThis research was Effectiveness of “ZooSchool Project” Implementation of Chiang Mai, Fiscal Year B.E. 2554-2555. The objectives of this study were 1) to analyze the relationship between policy and effectiveness of “ZooSchool Project” Implementation of Chiang Mai Zoo 2) to analyze the result of project management towards effectiveness of “ZooSchool Project” Implementation of Chiang Mai Zoo 3) to analyze the result of courses attraction towards effectiveness of “ZooSchool Project” Implementation of Chiang Mai Zoo 4) to study the impact of the occurrence of new knowledge competitors that were similar to this project towards effectiveness of “ZooSchool Project” Implementation of Chiang Mai Zoo. This research was a qualitative research which was a comparative study about the system of educational administration. The study were found that (1) the policy; there was the executive policy which was supportive the effectiveness of educational management within Chiang Mai Zoo followed The National Education Act on “Government must promote the implementation and the establishment of lifelong learning resources in all forms as information and learning resources sufficiently and efficiently” that were the main objective of The National Education Act (2) the project management process; there were using a participatory process between students and the officials by many activities so that the result of learning and practice of students could be developed by doing activities (3) the courses attraction and the suitable implementation affect effectiveness of the project; there were setting the curriculum to promote learning in 8 groups to integrated with learning component of the zoo and focus on the group of learners and the difficulty of the activity sheet was created by realizing the potential of students (4) competitors learning resources; Chiang Mai Zoo had a distinctive reputation. The famous animals were pandas and koalas. The competitors were from the management sectors because most competitors had the form of private management with the capacity to developed quickly. In view point of interviewees, they had the opinion that any large organization usually had a slow movement, especially in the management to developed the organization and any small or moderate organization always developed the management of organization agilely. The suggestion of this research were (1) public relations should be promoted in many processes as in the parallel system (2) development of personnel skills, promotion of the role of resources management to be wider, the database should be created up to the standard level, and making partnerships with both external and internal agencies (3) funding from external and internal organizations to get enough budget for development, particularly in media innovations.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectนักเรียนen_US
dc.subjectสวนสัตว์เชียงใหม่en_US
dc.titleประสิทธิผลของการดำเนินโครงการนำนักเรียนเข้าเรียนรู้ในสวนสัตว์เชียงใหม่ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554-2555en_US
dc.title.alternativeEffectiveness of “ZooSchool Project” Implementation of Chiang Mai, Fiscal Year B.E. 2554-2555en_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.classification.ddc370.9-
thailis.controlvocab.thashการศึกษาเปรียบเทียบ-
thailis.controlvocab.thashการบริหารการศึกษา-
thailis.manuscript.callnumberว/ภน 370.9 ช175ป-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาเรื่องประสิทธิผลของการดำเนินโครงการนำนักเรียนเข้าเรียนรู้ในสวนสัตว์เชียงใหม่ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554-2555โดยมีวัตถุประสงค์ คือ 1.เพื่อวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างนโยบายกับประสิทธิผลของโครงการฯ 2.เพื่อวิเคราะห์ผลของการบริหารจัดการโครงการที่มีต่อประสิทธิผลของโครงการฯ3.เพื่อวิเคราะห์ผลของความน่าดึงดูดใจของหลักสูตรที่มีต่อประสิทธิผลของโครงการฯ 4.เพื่อศึกษาผลกระทบจากการเกิดขึ้นของแหล่งเรียนรู้ของคู่แข่งที่มีลักษณะใกล้เคียงกันต่อประสิทธิผลของโครงการนำนักเรียนเข้าเรียนรู้ในสวนสัตว์เชียงใหม่โดยใช้รูปแบบการศึกษาเปรียบเทียบระบบการบริหารการศึกษาซึ่งเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ จากผลการศึกษาพบว่า 1.ด้านนโยบาย มีนโยบายของผู้บริหารที่ส่งเสริมความมีประสิทธิผลการจัดการงานด้านการศึกษาภายในสวนสัตว์เชียงใหม่ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ ว่าด้วย “รัฐต้องส่งเสริมการดำเนินงานและการจัดตั้งแหล่งการเรียนรู้ตลอดชีวิตทุกรูปแบบ ให้เป็น แหล่งข้อมูลและแหล่งเรียนรู้อย่างพอเพียงและมีประสิทธิภาพจุดมุ่งหมายสำคัญตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ 2.ด้านกระบวนการบริหารจัดการโครงการ มีการใช้กระบวนการมีส่วนร่วมระหว่างนักเรียน และเจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบโดยผ่านกิจกรรมต่างๆ เพื่อให้ผลการเรียนรู้และการลงมือปฏิบัติของนักเรียนเกิดการพัฒนาความสามารถในการลงมือกระทำกิจกรรม 3.ความน่าสนใจของหลักสูตรการเรียนรู้และความเหมาะสมในการนำไปใช้ส่งผลอย่างไรต่อประสิทธิผลของโครงการฯมีการกำหนดหลักสูตรการส่งเสริมการเรียนรู้ที่เน้น 8 กลุ่มสาระ มาบูรณาการให้เกิดกับองค์ประกอบการเรียนรู้ของสวนสัตว์ และมีการคำนึงถึงกลุ่มผู้เรียนเป็นสำคัญ ความยากง่ายของแบบใบกิจกรรมนั้น คำนึงถึงศักยภาพของผู้เรียนด้วย 4.ด้านคู่แข่งทางด้านแหล่งเรียนรู้ สวนสัตว์เชียงใหม่มีความโดดเด่นทางด้านความมีชื่อเสียง สัตว์เด่นเช่น หมีแพนด้า โคอาล่า ส่วนคู่แข่งนั้นจะอยู่ในด้านการบริหารจัดการ เพราะคู่แข่งส่วนใหญ่จะมีการบริการจัดการในรูปแบบของเอกชน ที่มีสมรรถนะในการพัฒนาเป็นไปอย่างรวดเร็ว ในมุมมองของผู้ให้สัมภาษณ์เอง มีความเห็นว่า องค์การจัดการใดก็ตาม ที่มีขนาดใหญ่ มักจะมีการเคลื่อนไหวตัวเองเชื่องช้า โดยเฉพาะด้านการบริหารจัดการ เพื่อพัฒนาองค์กร ขนาดขององค์กรใดที่มีขนาดเล็ก หรือปานกลาง เมื่อมีการพัฒนาการบริหารจัดการมักจะเป็นไปด้วยความคล่องตัว ข้อเสนอแนะจากการวิจัยนี้ได้แก่ 1.ให้มีการส่งเสริมกระบวนการต่างๆ ให้เป็นไปในระบบคู่ขนาน ด้านการประชาสัมพันธ์ 2.พัฒนาทักษะบุคลากร ส่งเสริมบทบาทการบริหารจัดการแหล่งเรียนรู้ให้กว้างขึ้น จัดทำฐานข้อมูลให้ได้มาตรฐาน สร้างความร่วมมือทั้งหน่วยงานภายนอกและภายใน 3.ระดมทุน ทั้งภายนอกและภายในให้มีงบประมาณในการพัฒนาโดยเฉพาะด้านสื่อนวัตกรรมต่างๆ อย่างเพียงพอen_US
Appears in Collections:POL: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.pdfABSTRACT246.01 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
APPENDIX.pdfAPPENDIX278.23 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 1.pdfCHAPTER 1223.5 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 2.pdfCHAPTER 2374.3 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 3.pdfCHAPTER 3209.23 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 4.pdfCHAPTER 4490.78 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 5.pdfCHAPTER 5449.49 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 6.pdfCHAPTER 6285.38 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CONTENT.pdfCONTENT257.61 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
COVER.pdfCOVER530.5 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
REFERENCE.pdfREFERENCE249.04 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.