Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/43393
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรพงศ์ ตระการศิรินนท์-
dc.contributor.authorสุวปรียา ปัญญารักษาen_US
dc.date.accessioned2017-12-18T06:54:59Z-
dc.date.available2017-12-18T06:54:59Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/43393-
dc.description.abstractA study named “Analysis of Rice Mortgage Policy Model Implementation of Lampang Province in Production Year 2012/2013” has 3 objectives 1) to analyze implementation of Rice Mortgage Policy of Lampang Province in Production Year 2012/2013 2) to study performance of Rice Mortgage project of Lampang Province in Production Year 2012/2013 3) to study honesty, transparency, accountability and fairness of the operation of Rice Mortgage project of Lampang Province in Production Year 2012/2013 4) to study knowledge and understanding of Lampang province’s farmers about process of government’s Rice Mortgage project of Lampang Province in Production Year 2012/2013and 5) to study problems and obstacles that farmers in Lampang province get from participating in Rice Mortgage project of Production Year 2012/2013. This study applied qualitative research and quantitative research method. The study divided samples and key informants into 3 groups which are 1) farmers who join the rice mortgage project 2) representatives of rice mill entrepreneurs and 3) state officers who directed the operation of paddy mortgage project in Lampang province. For the first group, the study used questionnaire as a way to collect data and analysis data with simple statistic. For the second and third group, the study used interview for collecting data. This study found that rice mortgage policy of Production Year 2012/2013 in Lampang province is set on 3 models which are Policy Implementation Process Model, Bureaucratic Process Model and Political Model The result found that rice mortgage project achieved the project’s objectives at high level, policy and objectives setting of rice mortgage project is clear, using sufficient resources in administration for instance manpower, budget, appliances and place. Farmers have opinions about project operation that the project operation has honesty, transparency, fairness and accountability, at high level. Farmers are confidence in transparency, fairness, appropriateness and possibility of rice mortgage project’s implementation that is under intensive regulatory supervision of officers. Moreover farmers’ knowledge and understanding about procedure and authority of officers in rice mortgage project implementation is 79.78 %en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectตัวแบบการปฎิบัติen_US
dc.subjectการจำนำข้าวเปลือกen_US
dc.titleการวิเคราะห์ตัวแบบการปฏิบัติตามการนำนโยบายการจำนำข้าวเปลือกของจังหวัดลำปาง ในปีการผลิต 2555/2556en_US
dc.title.alternativeAnalysis of Rice Mortgage Policy Model Implementation of Lampang Province in Production Year 2012/2013en_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.classification.ddc338.13-
thailis.controlvocab.thashข้าวเปลือก -- จำนำ -- ลำปาง-
thailis.controlvocab.thashข้าวเปลือก -- ลำปาง-
thailis.controlvocab.thashข้าว -- ราคา -- ลำปาง-
thailis.manuscript.callnumberว/ภน 338.13 ส475ก-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาเรื่อง “การวิเคราะห์ตัวแบบการปฏิบัติตามการนำนโยบายการจำนำข้าวเปลือกของจังหวัดลำปาง ในปีการผลิต 2555/2556” มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อวิเคราะห์ตัวแบบในการนำนโยบายการจำนำข้าวเปลือกของจังหวัดลำปาง ในปีการผลิต 2555/2556 ไปปฏิบัติ (2) เพื่อศึกษาผลการดำเนินโครงการรับจำนำข้าวเปลือกของจังหวัดลำปาง ในปีการผลิต 2555/2556 (3) เพื่อศึกษาความสุจริต โปร่งใส ตรวจสอบได้ และความเป็นธรรมของการดำเนินโครงการรับจำนำข้าวเปลือกของจังหวัดลำปาง ปีการผลิต 2555/2556 (4) เพื่อศึกษาความรู้ความเข้าใจของเกษตรกรในจังหวัดลำปางเกี่ยวกับกระบวนการในโครงการรับจำนำข้าวเปลือกของรัฐบาล และ (5) เพื่อศึกษาปัญหาอุปสรรคที่เกษตรกรภายในจังหวัดลำปางได้รับจากการเข้าร่วมโครงการจำนำข้าวเปลือก ปีการผลิต 2555/2556 การศึกษานี้ได้ใช้การวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) และการวิจัยเชิงปริมาณ โดยมีกลุ่มตัวอย่างและผู้ให้ข้อมูลที่สำคัญ แบ่งเป็น 3 กลุ่ม คือ (1) เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ (2) ตัวแทนผู้ประกอบการโรงสี (3) เจ้าหน้าที่ในการกำกับดูแลการปฏิบัติงานของโครงการในจังหวัดลำปาง สำหรับกลุ่มที่ 1 จะใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ด้วยสถิติอย่างง่าย ส่วนกลุ่มที่ 2 และกลุ่มที่ 3 จะใช้แบบสัมภาษณ์เก็บรวบรวมข้อมูล ผลการศึกษาพบว่า นโยบายการจำนำข้าวเปลือกของจังหวัดลำปาง ในปีการผลิต 2555/2556 ตั้งอยู่บน 3 ตัวแบบ คือ ตัวแบบกระบวนการนำนโยบายไปปฏิบัติ (Policy Implementation Process Model) ตัวแบบกระบวนการของระบบราชการ (Bureaucratic Process Model) และ ตัวแบบทางด้านการเมือง (Political Model) ผลการศึกษาการดำเนินโครงการฯ บรรลุวัตถุประสงค์ของโครงการในระดับมาก การกำหนดนโยบายและวัตถุประสงค์ของโครงการรับจำนำข้าวเปลือกมีความชัดเจน มีการใช้ทรัพยากรในการบริหาร เช่น บุคลากร งบประมาณ เครื่องมือเครื่องใช้ และสถานที่ที่เพียงพอ เกษตรกรมีความคิดเห็นเกี่ยวกับการดำเนินงานมีความสุจริต โปร่งใส เป็นธรรม และตรวจสอบได้ของการดำเนินโครงการฯ อยู่ในระดับมาก เกษตรกรมีความเชื่อมั่นในโครงการฯ ว่ามีความโปร่งใส เป็นธรรม เหมาะสมและเป็นไปได้ในการนำไปปฏิบัติ ภายใต้มาตรการควบคุมกำกับดูแลที่เข้มงวดของเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง และเกษตรกรมีความรู้ความเข้าใจในโครงการรับจำนำข้าวเปลือกเกี่ยวกับกระบวนการขั้นตอนและอำนาจหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องในการดำเนินโครงการ คิดเป็น ร้อยละ 79.78en_US
Appears in Collections:POL: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.pdfABSTRACT244.1 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
APPENDIX.pdfAPPENDIX457.95 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 1.pdfCHAPTER 1540.22 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 2.pdfCHAPTER 21.03 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 3.pdfCHAPTER 3258.93 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 4.pdfCHAPTER 4686.75 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 5.pdfCHAPTER 5352.39 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CONTENT.pdfCONTENT250.02 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
COVER.pdfCOVER712.7 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
REFERENCE.pdfREFERENCE498.76 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.