Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/40034
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | รองศาสตราจารย์ ดร. ภารดี .นานาศิลป์ | - |
dc.contributor.advisor | อาจารย์ ดร.กัลยาณี .ตันตรานนท์ | - |
dc.contributor.author | สุวรรณา แก้วศรี | en_US |
dc.date.accessioned | 2017-09-11T01:52:25Z | - |
dc.date.available | 2017-09-11T01:52:25Z | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/40034 | - |
dc.description.abstract | Registered nurses are confronted with occupational health hazards resulting in risk of occupational illness and injuries. This descriptive study aimed to examine health status related to risk at work among 227 registered nurses in secondary hospitals in Nan Province. Data were collected during May to June 2013. The study instrument was a questionnaire of health status related to risk at work among registered nurses which had a validity index of 0.98 as confirmed by a panel of three experts. The reliability of this questionnaire was tested and yielded an acceptable level (0.85). Data analysis was performed using descriptive statistics. The main results demonstrated that the most common of health problems possibly related to work, were musculoskeletal pain including shoulder pain (87.20%), neck pain (84.10%), back pain/flank (77.10%), eye fatigue from low light in workplace (75.30%), as well as stress from complicated work situation (71.40%). Work-related injuries during the final three-month period of the study was 22.50%, of which all were non-fatal injuries (100%). Injury causation was related to equipment impact or collision (43.14%), and sharp injuries (31.37%). Injured body parts were hands and fingers (52.94%). Study results indicate that occupational and environmental health nurses and relevant health personnel should recognize the importance of health status among registered nurses. Occupational health hazards and health status related to risk at work among registered nurses should be assessed. Further, information dissemination should be performed among registered nurses to increase their awareness of health risks at work, and to enhance health promotion program development for registered nurses. It is anticipated that these steps would reduce occupational illness and injuries, resulting in better quality of working life among registered nurses. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | ภาวะสุขภาพตามความเสี่ยงจากการทำงานของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลระดับทุติยภูมิ จังหวัดน่าน | en_US |
dc.title.alternative | Health Status Related to Risk at Work Among Registered Nurses, Secondary Hospitals, Nan Province | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | พยาบาลวิชาชีพต้องเผชิญกับปัจจัยคุกคามสุขภาพจากการทำงานที่หลากหลาย จึงเป็นกลุ่มคนทำงานที่เสี่ยงต่อการเจ็บป่วยและการบาดเจ็บจากการทำงาน การศึกษาเชิงพรรณนาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาภาวะสุขภาพตามความเสี่ยงจากการทำงานของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลระดับทุติยภูมิ จังหวัดน่าน จำนวน 227 คน รวบรวมข้อมูลตั้งแต่เดือนพฤษภาคม ถึง เดือนมิถุนายน 2556 เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาเป็นแบบสอบถามภาวะสุขภาพตามความเสี่ยงจากการทำงานของพยาบาลวิชาชีพ ที่ผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 3 ท่าน ค่าดัชนีความตรงตามเนื้อหา เท่ากับ 0.98 ทดสอบความเชื่อมั่นได้ค่าในระดับที่ยอมรับได้ ( 0.85 ) วิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ผลการศึกษาพบว่า ภาวะสุขภาพตามความเสี่ยงจากการทำงานในส่วนของการเจ็บป่วยที่อาจเกี่ยวเนื่องจากการทำงานที่สำคัญ คือ อาการปวดระบบโครงร่างกล้ามเนื้อ ได้แก่ ปวดไหล่ ( ร้อยละ 87.20 ) ปวดคอ ( ร้อยละ 84.10 ) ปวดหลังส่วนล่าง/เอว ( ร้อยละ 77.10 ) กล้ามเนื้อตาล้าจากแสงสว่างไม่เพียงพอ ( ร้อยละ 75.30 ) ความเครียด/กังวลจากการทำงานที่ยากหรือซับซ้อน ( ร้อยละ 71.40 ) ส่วนการบาดเจ็บ ที่เกี่ยวเนื่องจากการทำงานในช่วง 3 เดือนที่ผ่านมา พบร้อยละ 22.50 ซึ่งการบาดเจ็บทั้งหมด ( ร้อยละ 100.00 ) เป็นการบาดเจ็บเล็กน้อยไม่ต้องหยุดงาน สาเหตุของการชน/กระแทกเครื่องมือ/อุปกรณ์ ( ร้อยละ 43.14 ) ของมีคมบาด ( ร้อยละ 31.37 ) และอวัยวะที่ได้รับบาดเจ็บ คือ มือและนิ้วมือ ( ร้อยละ 52.94 ) ผลการศึกษาครั้งนี้ชี้ให้เห็นว่า พยาบาลอาชีวอนามัยและทีมสุขภาพที่เกี่ยวข้องควรให้ความสำคัญกับสุขภาพของพยาบาลวิชาชีพ ควรมีการประเมินปัจจัยคุกคามสุขภาพจากการทำงาน และภาวะสุขภาพตามความเสี่ยงจากการทำงานของพยาบาลวิชาชีพ ตลอดจนเผยแพร่ข้อมูล ความเสี่ยงด้านสุขภาพ และสร้างความตระหนักแก่พยาบาลวิชาชีพ สู่การพัฒนาโครงการส่งเสริมสุขภาพ เพื่อลด ความเสี่ยงต่อการเจ็บป่วยและการบาดเจ็บจากการทำงาน นำไปสู่การมีคุณภาพชีวิตการทำงาน ที่ดีของพยาบาลวิชาชีพต่อไป | en_US |
Appears in Collections: | NURSE: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
ABSTRACT.pdf | ABSTRACT | 349.83 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
APPENDIX.pdf | APPENDIX | 1.21 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
CHAPTER 1.pdf | CHAPTER 1 | 347.8 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
CHAPTER 2.pdf | CHAPTER 2 | 499.77 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
CHAPTER 3.pdf | CHAPTER 3 | 386.36 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
CHAPTER 4.pdf | CHAPTER 4 | 575.81 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
CHAPTER 5.pdf | CHAPTER 5 | 218.38 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
CONTENT.pdf | CONTENT | 194.48 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
COVER.pdf | COVER | 683.26 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
REFERENCE.pdf | REFERENCE | 438.31 kB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.