Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/40026
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorวิไลวรรณ แสงนวลen_US
dc.date.accessioned2017-08-30T09:24:18Z-
dc.date.available2017-08-30T09:24:18Z-
dc.date.issued2558-06-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/40026-
dc.description.abstractIndependent Study aims to reduce defects within the warehouse and optimize the efficiency parts department. The speed of the operation can reduce the running time. Warehouse few mistakes as possible and able to respond to customer needs in a timely manner by introducing Activity Mapping used to work in an overview of all the work, Fish Bone Diagram and Brain Storm help find the cause of the problem, the technique of ECRS consists Eliminate, Combine, Rearrange and Simplify the removal of waste that occurs in process. The PokaYoke techniques to prevent faults as well as improving work more efficiency and make the Check Sheet to determine how they work. The error in counting the number of parts that do not match the actual balance information recorded in the system from an average rate of 0.12 percent and the average error rate is reduced to 0 percent. It demonstrates the control that is 100 percent effective and can reduce operation time compared the average time each process both before and after the update from time 941.44 minutes and after improving take 781.05 minutes, which could reduce working time have included 160.39 minutes, representing a decrease of 17.14 and efficiency in the work to improve the performance better 17.68 percent of the renovation work and the performance better than the standard 2.37 per cent and 20.05 per cent improvement works.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectการควบคุมกระบวนการผลิตen_US
dc.titleการปรับปรุงประสิทธิภาพการทำงานของแผนกอะไหล่en_US
dc.title.alternativeImprovement of Work Efficiency in Parts Departmenten_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.classification.ddc658.5-
thailis.controlvocab.thashการควบคุมกระบวนการผลิต-
thailis.controlvocab.thashการควบคุมการผลิต-
thailis.manuscript.callnumberว 658.5 ว397ก-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการค้นคว้าแบบอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อลดความบกพร่องภายในคลังสินค้าและเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานภายในแผนกอะไหล่ ทำให้เกิดความรวดเร็วทางด้านการปฏิบัติงานสามารถลดเวลาการทำงาน คลังสินค้ามีความผิดพลาดน้อยที่สุดและสามารถตอบสนองต่อความต้องการของลูกค้าได้ทันเวลา โดยการนำหลักการเชื่อมต่อกิจกรรม (Activity Mapping) มาใช้เพื่อแสดงกระบวนการทำงานในภาพรวมของการทำงานทั้งหมด นำผังก้างปลา (Fish Bone Diagram) และการระดมความคิด (Brain Storm) ช่วยค้นหาสาเหตุของปัญหาที่เกิดขึ้น นำเทคนิคของ ECRS ประกอบด้วย การกำจัด (Eliminate) การรวมกัน (Combine) การจัดใหม่ (Rearrange) และการทำให้ง่าย (Simplify) มากำจัดความสูญเปล่าที่เกิดขึ้นในกระบวนการ ประกอบกับเทคนิค PokaYoke มาใช้เพื่อป้องกันความผิดพลาดรวมไปถึงการปรับปรุงการทำงานให้มีประสิทธิภาพมากขึ้นและจัดทำ Check Sheet เพื่อตรวจสอบวิธีการทำงาน ซึ่งความผิดพลาดในการตรวจนับจำนวนรายการอะไหล่ที่มียอดคงเหลือจริงไม่ตรงกับข้อมูลที่บันทึกในระบบ จากเดิมอัตราเฉลี่ยร้อยละ 0.12 และปัจจุบันอัตราการผิดพลาดเฉลี่ยลดลงเหลือร้อยละ0 เป็นการแสดงให้เห็นถึงการควบคุมการทำงานที่มีประสิทธิภาพร้อยละ 100 และสามารถลดเวลาในการทำงานเมื่อเปรียบเทียบเวลาเฉลี่ยแต่ละกระบวนการทั้งก่อนและหลังการปรับปรุง จากเดิมใช้เวลา 941.44 นาที และหลังจากการปรับปรุงใช้เวลา 781.05 นาที ซึ่งสามารถลดเวลาในการทำงานได้รวม 160.39 นาที หรือคิดเป็นสัดส่วนที่ลดลงร้อยละ 17.14 และประสิทธิภาพในการทำงานก่อนการปรับปรุงพบว่าประสิทธิภาพการทำงานดีกว่ามาตรฐานร้อยละ 17.68 และหลังจากการปรับปรุงการทำงานทำให้ประสิทธิภาพการทำงานดีกว่ามาตรฐานร้อยละ 2.37 และสามารถปรับปรุงการทำงานได้ร้อยละ 20.05en_US
Appears in Collections:ENG: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.docxAbstract (words)53.58 kBMicrosoft Word XMLView/Open    Request a copy
ABSTRACT.pdfAbstract156.7 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
FULL.pdfFull IS5.63 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.