Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/40023
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอาจารย์ ดร.วสวัชร นาคเขียว-
dc.contributor.authorพชรพรรณ ชัยเนตรen_US
dc.date.accessioned2017-08-30T09:19:57Z-
dc.date.available2017-08-30T09:19:57Z-
dc.date.issued2558-07-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/40023-
dc.description.abstractThe objective of this research is to propose methods of the efficiency enhancement of stamping machine in electronics in dustry at Takano Thailand in this case study. The research started from selecting machines that are critical and high capacity. Basic information of machines up to 12 types were collected. The data of 50 Ton (50-1) machine for Panasonic LD-R68, which contains all 12 sets of Punch and Die (for cutting), was collected parts using the principles of preventive maintenance. The collected data was then analyzed for the issues and causes as well as ranked the importance for each issue. The overall equipment effectiveness (OEE) was analyzed in order to find ways and means to increase the efficiency of the machines. The OEE result before the improvement is 82.82%. Availability of OEE had been improved by consists of adding value by providing spare parts. A manual for maintenance (PM Manual) the preventive maintenance card (PM Card) form plans daily, weekly, monthly maintenance and work instruction manual were created order to reduce the time wasted by stopping the machine and loss in setup-time. Performance of OEE was improved by introducing rotary machine adapted to reduce minor stoppage and idling losses. The visual Control was used for reducing time in finding necessary tools and dies. Quality had been improved by introducing Microsoft Excel program with a Visual Basic (VB) in the notification system for controlling parts of old molds. The results showed that after improving, the OEE value increased to 91.50%, Variances occur8.68%. The factory received benefit from reduction of waiting time, Stopping time, and waste from the process.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectการควบคุมกระบวนการผลิตen_US
dc.subjectอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์en_US
dc.subjectการขึ้นรูปลึก (งานโลหะ)en_US
dc.titleการเพิ่มประสิทธิภาพของเครื่องปั๊มขึ้นรูปชิ้นงานในอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์en_US
dc.title.alternativeEfficiency Enhancement of Stamping Machine in Electronic Industryen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.classification.ddc658.5-
thailis.controlvocab.thashการควบคุมกระบวนการผลิต-
thailis.controlvocab.thashอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์-
thailis.controlvocab.thashการขึ้นรูปลึก (งานโลหะ)-
thailis.manuscript.callnumberว 658.5 พ127ก-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการค้นคว้าแบบอิสระนี้เป็นการศึกษาและนำเสนอแนวทางในการเพิ่มประสิทธิภาพของเครื่องจักรและอะไหล่แม่พิมพ์ภายในแผนกขึ้นรูปชิ้นงาน กรณีศึกษา บริษัท ทาคาโนะ ประเทศไทย จำกัด โดยทำการคัดเลือกจากเครื่องจักรที่มีความสำคัญต่อการผลิตที่สูงซึ่งได้แก่เครื่องจักร50 Ton (50-1) ของ Part Panasonic LD-R68 ประกอบด้วย Punch และ Die ทั้งหมด 12 ชุด (เฉพาะชุด ตัด)โดยใช้หลักการของการบำรุงรักษาเชิงป้องกันเริ่มจากการเก็บรวบรวมข้อมูล ศึกษากระบวนการทำงาน นำข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อหาปัญหาและสาเหตุ โดยใช้วิธีการคัดเลือกและให้ค่าคะแนนความสำคัญของปัญหา รวมถึงการจัดทำการวัดประสิทธิผลโดยรวมของเครื่องจักร(Overall Equipment Effectiveness: OEE) เพื่อหาแนวทางและวิธีการเพิ่มประสิทธิภาพของเครื่องจักร ซึ่งผลก่อนการปรับปรุงคือ82.82% ประกอบไปด้วยการเพิ่มค่า A โดยการจัดทำอะไหล่แม่พิมพ์สำรอง จัดทำคู่มือการบำรุงรักษา (PM Manual) รายละเอียดการบำรุงรักษา (PM Card) การออกแบบฟอร์มแผนการบำรุงรักษารายวัน รายสัปดาห์ และรายเดือน คู่มือ เอกสารมาตรฐานการปฏิบัติงานต่างๆเพื่อลดเวลาสูญเปล่าจากการหยุดของเครื่องจักรและการสูญเสียจากการปรับตั้งเตรียมงานของเครื่องจักร, ค่า P เพื่อเพิ่มอัตราการเดินการเครื่องจักร โดยการนำ Rotary หรือเครื่องหมุนงานอัตโนมัติมาปรับใช้เพื่อลดการหยุดแบบย่อยๆของเครื่องจักรและการสูญเสียด้านความเร็ว รวมไปถึงการจัดทำระบบการควบคุมด้วยสายตา (Visual Control) เพื่อความสะดวก ง่ายต่อการค้นหา, และค่า Q มีการนำโปรแกรม Microsoft Excel มาประยุกต์ใช้งานกับโปรแกรมVisual Basic (VB) ในระบบแจ้งเตือนระบบการควบคุมอายุอะไหล่แม่พิมพ์ซึ่งพบว่าผลหลังการปรับปรุงค่าOEE เพิ่มขึ้นเป็น 91.50% ซึ่งผลต่างที่เกิดขึ้นคือ 8.68% แสดงให้เห็นถึงประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นของเครื่องจักร และสามารถช่วยลดอัตราการรอของเครื่องจักร ลดเวลาการทำงาน ลดการหยุดเครื่องแบบย่อยๆ และลดของเสียที่เกิดขึ้นจากกระบวนการผลิตได้en_US
Appears in Collections:ENG: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.docxAbstract (words)177.05 kBMicrosoft Word XMLView/Open    Request a copy
ABSTRACT.pdfAbstract218.91 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
FULL.pdfFull IS11.23 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.